Page 177 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 177

6-3








                              4. ควรพัฒนาการทําสวนมังคุดโดยเพิ่มประสิทธิภาพของแรงงานและลดจํานวนแรงงาน
                       ในสถานการณการผลิตมังคุดคุณภาพ เกษตรกรจะตองเสียคาใชจายในการจางแรงงานเก็บเกี่ยว

                       ผลผลิตมังคุดรอยละ 25 ของตนทุนการผลิตทั้งหมด คาแรงงานในการเก็บเกี่ยวตอตนจะมากหรือนอย

                       ขึ้นอยูกับขนาดตน ทรงพุม จํานวนผลผลิตตอตนและจํานวนรุนของผลผลิต ดังนั้นตองทําใหตนมังคุด
                       มีขนาดพอเหมาะ และนําเทคนิคการชักนําการออกดอกมังคุดใหเปนรุนเดียวกันมาใช เพื่อใหการใช

                       แรงงานที่มีอยูนอยใหมีประสิทธิภาพ

                              5. พัฒนาดานการผลิตและการตลาดไปสูระบบการเกษตรที่ลดการใชสารเคมีตาง ๆ เพื่อ
                       ลดตนทุนการผลิต

                              6. ใชเทคโนโลยีอยางถูกหลักวิชาการเพื่อชวยในการเพิ่มผลผลิตมังคุดตอไร

                       แทนการเพิ่มพื้นที่ปลูก
                              7. จัดหาตลาดรับซื้อพรอมสนับสนุนการสงออกผลมังคุดสดสงขายยังตางประเทศ

                       ภาครัฐควรจัดตั้งตลาดกลางสินคาเกษตร เพราะรัฐจะจายเงินชดเชยหรือแทรกแซงหรือพยุงราคา

                       สินคาลดลง แตตองมีมืออาชีพเขามาบริหาร จัดการ มีระบบการควบคุม ตรวจสอบที่มีมาตรฐาน

                       และคุณภาพ
                              8. ควรพัฒนาดานการแปรรูปผลผลิตมังคุดหรือองคประกอบของตนใหเปนผลิตภัณฑตาง ๆ

                       ใหมีรูปแบบหลากหลายมากขึ้น อันจะเปนการเพิ่มมูลคาของผลิตผลแลว เชนจากที่มีไวนมังคุด

                       มังคุดกวน สบูมังคุด โดยที่ภาครัฐควรมีการประชาสัมพันธถึงคุณคาทางโภชนาการและสุขภาพ

                       ตลอดจน ประโยชนของมังคุดทางเภสัชวิทยาและเครื่องสําอางเพื่อสรางแรงจูงใจแกผูบริโภค
                                9. ภาครัฐควรชวยเหลือเกษตรกรในดานการพัฒนาแหลงน้ํา และจัดหาแหลงสินเชื่อ

                       ปจจัยการผลิตใหแกเกษตรกรมากขึ้น จากการสํารวจพบวาเกษตรกรมีปญหาขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อ

                       การเกษตรอยูในลําดับแรก ๆ โดยเฉพาะเกษตรกรผูปลูกมังคุดภาคตะวันออกประสบกับภัยแลงและ
                       ปญหาขาดแคลนแหลงน้ําเปนสัดสวนที่มากกวาเกษตรกรผูปลูกมังคุดภาคใต

                                10.ภาครัฐควรสงเสริมใหเกษตรกรมีการรวมตัวจัดตั้งเปนสหกรณการเกษตรในทองที่

                       ที่มีการปลูกมังคุดกันมาก เพื่อจะเปนองคกรที่เปนผูรวบรวมผลผลิตจัดสงไปขายโดยตรงกับผูสงออก
                       หรือเปนผูรับซื้อรายใหญ ๆ และกวดขันควบคุมกันเองในดานคุณภาพผลผลิตในหมูสมาชิก จะทําให

                       มีอํานาจในการตอรองราคามากขึ้น นอกจากนั้นยังชวยใหมีการสงเสริมและเผยแพรความรู

                       แกเกษตรกรผูปลูกมังคุดไดงายและสะดวกขึ้น ทั้งสามารถแลกเปลี่ยนความรูความชํานาญและ
                       ความคิดเห็นในการปลูก ในการเพิ่มผลผลิตหรือการแกไขปญหา อุปสรรคที่เกิดขึ้นอีกดวย

                       การมีสหกรณการเกษตรยังชวยใหไดรับความชวยเหลือดานเงินลงทุนจากสถาบันการเงินและ

                       หนวยงานของรัฐบาลมากขึ้นดวย





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                                                                                           สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182