Page 175 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 175

บทที่ 6

                                                         เขตการใชที่ดิน



                              มังคุดเปนไมผลเมืองรอนที่มีรสชาติเปนเอกลักษณหาไมไดในไมผลชนิดอื่น   อายุของตน

                       ยืนยาว เปนสินคาเกษตรสงออกนําเงินเขาประเทศปละไมนอย   มังคุดในเมืองไทยปลูกกัน

                       อยางแพรหลายในภาคตะวันออกและภาคใต   ซึ่งนิยมปลูกเปนลักษณะสวนผสม   มีชวงฤดูกาล
                       ที่ผลผลิตออกสูตลาดคอนขางยาวนานเพราะมังคุดแตละภาคจะออกผลไมพรอมกัน   คือ   มังคุด

                       ภาคตะวันออกจะเก็บเกี่ยวผลผลิตไดกอนมังคุดที่อื่น ๆ ชุดที่สองเปนมังคุดภาคใตฝงอันดามัน

                       ประกอบดวย จังหวัดระนอง   พังงา   กระบี่   ตรัง เปนตน    และชุดที่สามจะเก็บเกี่ยวลากวาชุดที่สอง

                       ประมาณ 30 - 45  วัน   มังคุดชุดนี้เปนมังคุดจากภาคใตฝงอาวไทย ประกอบดวยจังหวัด ชุมพร
                       สุราษฎรธานี   และนครศรีธรรมราช เปนตน

                              ความตองการมังคุดที่มีคุณภาพ ( ผลมีน้ําหนักมากกวา 80  กรัม   ผิวผลเรียบ เปนมัน ไมมี

                       รองรอยการเขาทําลายของโรคและแมลง  ไมมีอาการเนื้อแกว ยางไหลในผลนอยมาก) สูงขึ้นเรื่อย ๆ
                       บางปเกษตรกรไมสามารถผลิตมังคุดที่มีคุณภาพไดเพียงพอกับความตองการของตลาด   เมื่อพิจารณา

                       คุณสมบัติเดนประจําตัวของมังคุดรวมกับอัตราการเพิ่มของผลผลิตที่มีคุณภาพดีรวมถึงการแขงขัน

                       ในตลาดตางประเทศยังมีนอย   สงผลใหมังคุดมีอนาคตการตลาดที่สดใสในสายตาผูประกอบธุรกิจ

                       สงออกสินคาเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณจึงไดจัดทํายุทธศาสตรเพื่อกําหนดเปาหมายการผลิต
                       มังคุด โดยไดกําหนดเปาหมายตั้งแตป พ.ศ. 2547  ถึงปพ.ศ. 2552      ใหมีพื้นที่ปลูก 391,000  ไร

                       และไดผลผลิตประมาณ 405,000  ตัน (ไดคุณภาพสงออกรอยละ 35)  ซึ่งตั้งแตป 2547  -  2552

                       ตามยุทธศาสตรของมังคุดไมลดพื้นที่เพาะปลูกเพียงแตตองมีการดูแลจัดการใหมีผลผลิตตอไร
                       เพิ่มขึ้นเทานั้น

                              จากการกําหนดเขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจ มังคุด ซึ่งไมมีการแบงแยกพันธุ   จากการศึกษา

                       ของนักวิชาการหลายทานพบวายังไมสามารถแบงแยกพันธุของมังคุดไดเปนที่แนชัด  จึงถือวามังคุด
                       ที่บริโภคในปจจุบันมีเพียงพันธุเดียวเทานั้น คือ พันธุพื้นเมือง ในการกําหนดเขตการใชที่ดินใช

                       ลักษณะทางกายภาพพิจารณารวมกับลักษณะทางเศรษฐกิจและสังคม ประมวลผลโดยใชระบบ

                       สารสนเทศภูมิศาสตร   โดยพิจารณาถึงพื้นที่เปาหมายการผลิตเปนสําคัญ  โดยคัดเลือกพื้นที่ที่มี
                       ระดับความเหมาะสมสูงและปานกลางเปนหลัก

                              ในการกําหนดเขตการใชที่ดินในพื้นที่เพื่อเกษตรกรรม 165 ลานไร   ไดแบงเขตความเหมาะสม

                       เปน 3  เขต คือ เขตการใชที่ดินมีความเหมาะสมมาก (Z-I)   ปานกลาง (Z-II)   และนอย (Z-III)

                       ตามลําดับ   ซึ่งสําหรับมังคุดพบเพียง 2 เขต เทานั้น คือ เหมาะสมมากและปานกลาง   เมื่อพิจารณา
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180