Page 140 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 140

4-30








               ทั้งหมดหรือผลไดเฉลี่ยตอปประมาณ 750 บาทตอไร อัตราสวนของผลไดตอตนทุน (B/C Ratio)
               เทากับ 1.14  สวนอัตราผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return) เทากับ 8.59 และมีจุดคุมทุน

               ปที่ 20  เมื่อพิจารณาตามความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดิน พบวา พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง

               (S1)  มังคุดใหผลไดปจจุบันสุทธิ 26,211.79 บาทตอไร หรือ 1,965.88 บาทตอไรตอป  อัตราสวน
               ของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.23 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 12.42 จุดคุมทุนปที่ 20

               ขณะที่พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  มังคุดใหผลไดปจจุบันสุทธิสูงกวาพื้นที่แรก คือ

               35,264.43 บาทตอไร หรือ 2,644.83 บาทตอไรตอปโดยมีอัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.55
               และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 14.75  จุดคุมทุนปที่ 16  สวนพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสม

               เล็กนอย (S3)  มังคุดใหผลไดปจจุบันสุทธินอยกวา 2 พื้นที่แรก คือ 9,033.65 บาทตอไร หรือ

               677.52 บาทตอไรตอปโดยมีอัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.10 และอัตราผลตอบแทน
               การลงทุนเทากับ 8.99 จุดคุมทุนปที่ 18 แตถาพิจารณาเปนรายภาคปรากฏวาภาคใตใหรายได

               ดีกวาภาคตะวันออกเพราะตัวชี้วัดทุกตัวมีคาสูงกวา กลาวคือ มังคุดในภาคใตใหผลไดปจจุบันสุทธิ

               43,625.88 บาทตอไร หรือ 3,271.94 บาทตอไรตอป โดยมีอัตราสวนของผลไดตอตนทุนเทากับ

               1.59 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 16.70 จุดคุมทุนปที่ 15  สําหรับภาคตะวันออกนั้น
               มังคุดมีคาตัวชี้วัดทุกตัวต่ําที่สุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคใตและเขตพื้นที่ความเหมาะสมระดับตาง  ๆ

               กลาวคือ ใหผลไดปจจุบันสุทธิ 6,206.78 บาทตอไร หรือ 465.51 บาทตอไรตอป โดยมีอัตราสวน

               ของผลไดตอตนทุนเทากับ 1.07 และอัตราผลตอบแทนการลงทุนเทากับ 7.26 จุดคุมทุนปที่ 22

               (ตารางที่ 4-19) จากเกณฑการตัดสินใจ  (ดูรายละเอียดบทที่ 1)  สรุปไดการลงทุนผลิตมังคุดในพื้นที่ตาง   ๆ
               ตามที่จําแนกไวนั้นยังกระทําได เพราะคาตัวชี้วัดจากการคํานวณสูงกวาคาวิกฤตที่กําหนดไว แตเปน

               ที่นาสังเกตภาคตะวันออกมีคาตัวชี้วัดทุกตัวคอนขางต่ํา ทําใหเกษตรกรในภาคนี้มีความเสี่ยงสูงกวา

               ภาคใต ประกอบกับเกษตรกรบางรายตองการเปลี่ยนอาชีพไปสูภาคนอกการเกษตร (รอยละ 15.48 ของ
               เกษตรกรที่สํารวจในภาคตะวันออกทั้งหมด) และบางสวนหรือรอยละ 15.48 ของเกษตรกร

               ที่สํารวจในภาคตะวันออกทั้งหมดไมแนใจวาจะประกอบอาชีพในการเกษตรดังเดิมหรือไม ดังนั้น

               อาจเปนสาเหตุที่เกษตรกรจะเลือกปลูกพืชอื่นทดแทน เชนยางพาราหรือปาลมน้ํามัน หรือเปลี่ยนไป

               ประกอบอาชีพอื่น
                                การลงทุนปลูกไมผลนั้นเกษตรกรจะตองตัดสินใจวาควรทําการตัดทิ้งแลว

               ปลูกใหมเมื่อใดจึงจะทําใหเกิดประโยชนสูงสุด เนื่องจากผลตอบแทนที่เกิดขึ้นจากการปลูกไมผล
               จะลดลงเมื่อถึงอายุหนึ่งไมคุมกับคาใชจายตางๆ ดังนั้นจึงไดวิเคราะหหาชวงเวลาที่เหมาะสม

               ในการปลูกทดแทนโดยวิธี capital  budgeting  หากกลับไปพิจารณาผลการวิเคราะหขางตนแลวจะ

               พบวารายไดหรือผลไดปจจุบันสุทธิสามารถอธิบายไดเพียงลักษณะกําไรหรือขาดทุนทางการคา





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145