Page 144 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 144

4-32








               ของสวนไมผลในแตละปเทานั้น ไมสามารถบอกไดวาเกษตรกรควรจะปลูกไมผลติดตอกันนาน
               เปนระยะเวลากี่ปจึงจะทําใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้นจึงควรคํานวณรายไดหรือผลไดมาตรฐาน

               (standardized income) หรือผลไดสุทธิเฉลี่ยตอปของผลไดปจจุบันสุทธิสะสมซึ่งคํานวณจาก

               ผลไดปจจุบันสุทธิสะสมปรับดวย Capital Recovery Factor เพื่อใหเปรียบเทียบกันได ซึ่งผลได

               ปจจุบันสุทธิสะสมคือผลรวมของผลไดปจจุบันสุทธิในปกอนหนานั้นเขาดวยกัน การคํานวณดวย

               วิธีการดังนี้สามารถทําใหเกษตรกรทําการตัดสินใจไดวาควรทําการปลูกไมผลติดตอกันเปนระยะเวลากี่ป
               โดยพิจารณาจากปที่มีผลไดมาตรฐานสูงสุด การวิเคราะหหาระยะเวลาที่เหมาะสมของการที่โคนตนเกาทิ้ง

               และปลูกทดแทนขึ้นมาใหมของการลงทุนปลูกมังคุดไดดําเนินการตามวิธีการของ สมใจ (2544)

               ผลการวิเคราะหจากตารางที่ 4-20 ถึง 4-25  สรุปไดวาเกษตรกรผูปลูกมังคุดในแตละพื้นที่ยังไมควร
               ตัดตนมังคุดทิ้งเมื่ออายุมังคุด 25 ป เพราะมังคุดยังใหผลไดมาตรฐานที่เปนบวกและมีมูลคาสูงสุดอยู

               และถาปลูกตอไปคาดวาผลไดมาตรฐานยังคงสูงขึ้นเพราะผลไดปจจุบันสะสมยังคงสูงขึ้นเรื่อย ๆ



               4.2 ปญหา ความตองการความชวยเหลือจากรัฐและทัศนคติดานผลิตทางการเกษตรของเกษตรกร


                4.2.1  ปญหาดานการผลิตทางการเกษตร

                        จากการศึกษาพบวาเกษตรกรผูปลูกมังคุดมีปญหาในการผลิตทุกราย ปญหาสําคัญ

               ประการแรก ๆ ไดแก  ปจจัยการผลิตมีราคาสูง ราคาผลผลิตตกต่ํา ฝนแลงและ ศัตรูพืชรบกวน

               คิดเปนรอยละ 50.00  46.53  35.15 และ 32.67 ตามลําดับ  ปญหารองลงมาคือ ขาดแคลนแหลงน้ํา
               เพื่อการเกษตร ขาดแคลนเงินทุนและผลผลิตมีคุณภาพต่ํา คิดเปนรอยละ 26.73 17.82 และ 10.89

               ตามลําดับ ปญหาอื่น ๆ ที่เหลือมีสัดสวนไมถึงรอยละ 10.00  (ตารางที่ 4-26)

                        เมื่อจําแนกการวิเคราะหตามความเหมาะสมทางกายภาพที่ดินพบวา เกษตรกรทุกราย
               ที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1) ประสบปญหาปจจัยการผลิตมีราคาสูงพอ ๆ กัน

               กับราคาผลผลิตตกต่ําคิดเปนรอยละ 44.44 และ 43.06 ตามลําดับ ศัตรูพืชรบกวนและประสบ

               ภัยธรรมชาติคือ ฝนแลงเปนอันดับถัดมามีสัดสวนพอ ๆ กันคือคิดเปนรอยละ 41.67 และ 40.28

               ตามลําดับ ปญหาขาดแคลนแหลงน้ําเพื่อการเกษตรและขาดแคลนเงินทุนนั้นมีสัดสวนรอยละ 22.22
               และ 12.50 ตามลําดับ ปญหาสวนที่เหลือมีสัดสวนนอยกวารอยละ 10.00 ขณะที่เกษตรกรในเขต

               พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง(S2)  ประสบกับปญหานอยประการกวาพื้นที่แรก ปญหาที่

               สําคัญไดแก ปจจัยการผลิตมีราคาสูงคิดเปนรอยละ 59.70 ของจํานวนเกษตรกรที่สํารวจในเขต
               พื้นที่นี้ทั้งหมด ลําดับรองลงมาคือราคาผลผลิตต่ําและศัตรูพืชรบกวน มีสัดสวนรอยละ 50.75 และ

               31.34 ตามลําดับ ปญหาขาดแคลนเงินทุนมีความสําคัญพอ ๆ กันกับการที่ตองประสบภัยฝนแลง






               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149