Page 136 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 136

4-27








                       3,253.41 และ 2,837.59 บาท ตามลําดับชวงอายุ สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป
                       นั้น เกษตรกรมีกําไรเนื่องจากมังคุดใหผลผลิตแลว 346.45  1,253.60 และ 1,509.09   กิโลกรัมตอไร

                       ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาปริมาณผลผลิตไดเพิ่มขึ้นตามอายุมังคุดที่เพิ่มขึ้นเชนเดียวกับภาคตะวันออก

                       ตนทุนทั้งหมดของการผลิตมังคุดในชวงอายุอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ ตั้งแต 21 ปขึ้นไปคือ
                       4,728.14  8,161.24 และ 10,049.99 บาทตอไร  ณ ราคาขายผลผลิต 14.83 บาทตอกิโลกรัม ทําให

                       เกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 1,145.03  11,091.91 และ 12,831.58 บาทตอไร

                       ตามลําดับชวงอายุ  และไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 409.71  10,429.65 และ
                       12,329.90 ในแตละชวงอายุ ตามลําดับ หรือคิดเปนตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม 13.65 6.51 และ

                       6.66 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งมีมูลคามากกวาราคาขายผลผลิตมังคุดที่เกษตรกรไดรับทั้งหมดเกษตรกร

                       จึงมีกําไร  (ตารางที่ 4-17)
                                       เมื่อพิจารณาผลตอบแทนของการปลูกมังคุดในแตละภาคโดยจําแนกตามระดับ

                       ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินพบวา เกษตรกรที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสม

                       เล็กนอย (S3) ของภาคตะวันออกประสบกับการขาดทุน ที่เปนเชนนี้อาจเนื่องมาจากเกษตรกร

                       ในพื้นที่ดังกลาวไดรับผลผลิตในปริมาณที่ต่ํากวาในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูง (S1)  และพื้นที่
                       ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2) ประมาณ 360 และ 230 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ และยังขายผลผลิต

                       ไดในราคาที่ต่ํากวากัน 0.25 และ 1.34 บาทตอกิโลกรัม สงผลใหขาดทุน 647.32 และ 1,558.12 บาทตอไร

                       เมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรและตนทุนทั้งหมด ตามลําดับ  สําหรับภาคใตนั้น กลับเปนไป

                       ในทางตรงกันขาม กลาวคือ เกษตรกรที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูงและพื้นที่ที่ดิน
                       มีความเหมาะสมปานกลางประสบกับการขาดทุนเนื่องจากไดรับผลผลิตในปริมาณต่ํา และในพื้นที่

                       ที่ดินมีความเหมาะสมสูงนั้นเกษตรกรยังขายผลผลิตไดในราคาที่ต่ํากวาใน 2 พื้นที่ที่เหลือคือขายได

                       เพียง 11.92 บาทตอกิโลกรัม  เทานั้น  ขณะที่ในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางและพื้นที่
                       ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอยเกษตรกรขายผลผลิตไดในราคาสูงกวาคือ 18.15 และ 17.84 บาท

                       ตอกิโลกรัม ตามลําดับ สงผลใหเกษตรกรประสบกับการขาดทุน 1,194.91 และ 1,273.72  บาทตอไร

                       ในเขตพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูงและพื้นที่ที่ดินเหมาะสมปานกลาง ตามลําดับ (ตารางที่ 4-18)

                                4.1.2.3 การวิเคราะหผลตอบแทนการลงทุนและระยะเวลาการปลูกทดแทนมังคุด


                                       เนื่องจากมังคุดเปนพืชที่มีอายุการผลิตเกินกวา 1 ป  การวิเคราะหครั้งนี้กําหนดให
                       มีรอบอายุการผลิต 25 ป การพิจารณาผลตอบแทนการผลิตจึงใชมูลคาปจจุบันของผลตอบแทน

                       หรือผลไดเหนือตนทุนทั้งหมด(NPV)  อัตราสวนของผลไดตอการลงทุน (B/C  Ratio)  และอัตรา

                       ผลตอบแทนการลงทุน (Internal Rate of Return)  ผลไดสุทธิที่คิดเปนมูลคาปจจุบัน ณ อัตราคิดลด

                       รอยละ 5.50  ตลอดอายุการผลิต 25 ป  มีมูลคา 10,060.38 บาทตอไร  ทําใหไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุน



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141