Page 133 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 133

4-24








               บาทตอกิโลกรัม ขณะที่มังคุดในชวงอายุ 13-20 ปและ 21 ปขึ้นไปเกษตรกรมีกําไรเพราะไดรับ
               ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 6,406.44 และ 7,299.11  บาทตอไร หรือมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ย

               ตอกิโลกรัม 7.33 และ 7.79 บาท ซึ่งต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ 5.16 และ 4.70 บาทตอกิโลกรัม

               ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนผันแปรประมาณรอยละ 92 และ 89 สําหรับชวงอายุ
               13-20 ปและ 21 ปขึ้นไป ตามลําดับ ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรแลวจะทําใหเกษตรกร

               มีกําไรโดยไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 7,118.46 และ 8,651.83  บาทตอไร ตามลําดับ

               ชวงอายุ  (ตารางที่ 4-15)
                                ภาคใต  มังคุดที่ปลูกในภาคใตมีตนทุนทั้งหมดไรละ 4,067.96 บาท จําแนกเปน

               ตนทุนผันแปรไรละ 3,439.51 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 628.45 บาท คิดเปนรอยละ 85 และ15

               ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นสัดสวนประมาณครึ่งหนึ่งเทากันจําแนกไดเปนตนทุน

               ที่เปนเงินสดไรละ 2,052.33   บาท และไมเปนเงินสดไรละ 2,015.63 บาท ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสด
               สัดสวนสูงถึงรอยละ 98 เปนตนทุนผันแปรทั้งหมด  ในจํานวนตนทุนผันแปรนั้นคาวัสดุการเกษตร

               มีมูลคามากกวาคาแรงงานเพียงเล็กนอยหรือคิดเปนรอยละ 42 และ 41 ตามลําดับ คาแรงงานคน

               คิดเปนรอยละ 76 ของคาแรงงานทั้งหมด  สําหรับคาปุยเคมีมีมูลคามากที่สุดหรือมีมูลคาประมาณ
               รอยละ 46  ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด  ปริมาณผลผลิตเฉลี่ยทุกชวงอายุของภาคใตคือ 217.27

               กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 14.83 บาทตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไร

               ตลอดชวงอายุ 25 ปเทากับ 3,222.11 บาท เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุน โดยไดรับผลตอบแทน

               เหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนเฉลี่ยไรละ 217.40  และ 845.85 บาท
               ตามลําดับ โดยมีตนทุนเฉลี่ยตอกิโลกรัมของผลผลิตเทากับ 18.72 บาทซึ่งมีมูลคาสูงกวาราคาผลผลิต

               ที่เกษตรกรไดรับ 3.89 บาทตอกิโลกรัม (ตารางที่ 4-13 และตารางที่ 4-16) เมื่อพิจารณาตามชวงอายุมังคุด

               พบวา ประมาณรอยละ 84 ของตนทุนทั้งหมดในปที่ 1 นั้นเปนตนทุนผันแปรซึ่งไดแกคาแรงงาน
               เปนสวนใหญมีมูลคาเกินกวาครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 51 ของตนทุนทั้งหมด ซึ่งพบวาในทุกชวงอายุมังคุด

               ยกเวนมังคุดอายุ 2-6 ป  คาแรงงานจะมูลคามากกวาคาวัสดุการเกษตรที่มีสัดสวนรองลงมาในจํานวน

               มูลคาของคาใชจายทั้งหมด  โดยเฉพาะชวงอายุ 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป  มีคาแรงงานสูงประมาณ
               รอยละ 70 และ 65 ของตนทุนผันแปรใน 2 ชวงอายุดังกลาวซึ่งมีมูลคามากกวาคาวัสดุเกษตรประมาณ

               3,560 และ 4,020 บาทตอไร ตามลําดับ มังคุดปที่ 1 และปที่ 2-6 ยังไมใหผลผลิต เกษตรกรผูปลูกมังคุด

               ใน 2 ชวงอายุนี้จึงยังไมมีรายไดคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว  เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุน
               เทากับมูลคาของตนทุนที่เกิดขึ้น ซึ่งถาพิจารณาตามประเภทตนทุนแลว ปรากฏวาปที่ 1 และปที่ 2-6

               เกษตรกรประสบกับการขาดทุนโดยไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุนไรละ 2,741.58

               และ 2,276.64  บาท  ตามลําดับชวงอายุ  ผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดนั้นพบวาขาดทุนไรละ





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138