Page 123 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 123

4-16








               และ 6.89 ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นจําแนกเปนตนทุนผันแปรประมาณรอยละ 86  84
               และ 86  ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรแลวจะทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือ

               ตนทุนผันแปร 965.10  11,700.00 และ 11,829.04  บาทตอไร ตามลําดับชวงอายุ

                                พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมเล็กนอย (S3)  มังคุด  มีตนทุนทั้งหมดไรละ
               5,496.08 บาท จําแนกเปนตนทุนผันแปรไรละ 4,672.78 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 823.30 บาท

               คิดเปนรอยละ 85 และ 15   ตามลําดับ  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ

               3,673.37 บาท และไมเปนเงินสดไรละ 1,822.71 บาท หรือประมาณรอยละ 67 และ 33 ของตนทุนทั้งหมด
               ตามลําดับ ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดนั้นประมาณรอยละ 95 เปนตนทุนผันแปร ในจํานวนตนทุนผันแปรนั้น

               คาวัสดุการเกษตรมีมูลคามากกวาคาแรงงานประมาณ 30 บาทตอไร ซึ่งคาแรงงานประมาณรอยละ

               91 เปนคาแรงงานคน คาปุยเคมีและคาน้ํามันเชื้อเพลิง/หลอลื่นนั้นมีสัดสวนประมาณรอยละ 28

               และ 21 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด เปนที่นาสังเกตวาคาวัสดุการเกษตรประมาณ 500 บาทตอไร
               หรือรอยละ 25 เปนคายาปราบศัตรูพืช ซึ่งแสดงวาเกษตรกรที่ปลูกมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสม

               เล็กนอยประสบปญหาศัตรูพืชรบกวน ทําใหเกษตรกรไดรับปริมาณผลผลิตเฉลี่ยตอไรคอนขางต่ํา

               กลาวคือเมื่อเฉลี่ยทุกชวงอายุ  344.81  กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 14.50 บาทตอกิโลกรัม
               มูลคาของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปเทากับ 4,999.75 บาท เกษตรกรจึงไดรับ

               ผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 1,326.38 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรไรละ 326.97 บาท

               สวนผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดนั้นพบวาขาดทุนไรละ 496.33 บาท  ตนทุนเฉลี่ยตอกิโลกรัม

               ของผลผลิตเทากับ 15.94 บาทซึ่งมีมูลคาสูงกวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ 1.44  บาทตอกิโลกรัม
               (ตารางที่ 4-5 และตารางที่ 4-10)  เมื่อพิจารณาตามชวงอายุมังคุดในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสม

               เล็กนอยสําหรับการปลูกมังคุด (ตารางที่ 4-11) พบวา สัดสวนประมาณครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 51

               ของตนทุนทั้งหมดในปที่ 1 นั้นเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาเปนคาวัสดุการเกษตรที่มีสัดสวน
               เทา ๆ กันกับตนทุนคงที่คือประมาณอยางละรอยละ 21 ของตนทุนทั้งหมด สําหรับชวงอายุ 2-6 ป

               และ 7-12 ป  คาแรงงานกลับมีสัดสวนนอยกวาคาวัสดุการเกษตร โดยเฉพาะชวงอายุ 2-6 ป

               คาแรงงานคิดเปนรอยละ 19 ขณะที่คาวัสดุการเกษตรมีสัดสวนสูงถึงรอยละ 44 ของตนทุนทั้งหมด
               มังคุดอายุ 7-12 ปมีคาวัสดุการเกษตรมากกวาคาแรงงงานประมาณ 200 บาทตอไร หรือคิดเปน

               ประมาณรอยละ 36 และ 33  ของตนทุนทั้งหมด ชวงอายุปที่ 13-20  และ 21 ปขึ้นไป  มีคาแรงงาน

               มากกวาคาวัสดุการเกษตรคิดเปนประมาณรอยละ 44  และ 56  ของคาแรงงานและรอยละ   56  และ 29
               ของคาวัสดุการเกษตรของแตละชวงอายุ  ตามลําดับ  ในปที่ 1 และปที่ 2-6 นั้น เกษตรกรยังไมมีรายได

               เนื่องจากมังคุดยังไมใหผลผลิตคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว  เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุน

               เทากับมูลคาของตนทุนที่เกิดขึ้น   ซึ่งถาพิจารณาตามประเภทตนทุนแลว ปรากฏวาปที่ 1 และปที่ 2-6





               เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                          สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128