Page 126 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 126

4-19








                       เกษตรกรประสบกับการขาดทุนโดยไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรขาดทุนไรละ 2,537.97
                       และ 2,193.90  บาท  ตามลําดับชวงอายุ สวนผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดนั้นขาดทุนไรละ

                       3,212.05 บาท และ 2,791.23 บาท  ตามลําดับชวงอายุ  สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21

                       ปขึ้นไปนั้น เกษตรกรมีกําไรเนื่องจากมังคุดใหผลผลิตแลว 335.94  1,390.15  และ 974.31
                       กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาผลผลิตไดลดลงในชวงที่มังคุดมีอายุมากกวา 20 ปขึ้นไป

                       ตนทุนทั้งหมดของการผลิตมังคุดในชวงอายุอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ ตั้งแต 21 ปขึ้นไปคือ

                       5,444.04  12,295.81 และ 12,298.04 บาทตอไร  ณ ราคาขายผลผลิต 14.50 บาทตอกิโลกรัม ทําให
                       เกษตรกรที่ปลูกมังคุดชวงอายุ 7-12 ป ประสบกับการขาดทุนเพราะมีผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       ทั้งหมดขาดทุนไรละ 572.91 บาท  คิดเปนตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม 16.21 บาทซึ่งมีมูลคา

                       มากกวาราคาที่เกษตรกรไดรับ ขณะที่มังคุดในชวงอายุ 13-20 ปและ 21 ปขึ้นไปไดรับผลตอบแทน
                       เหนือตนทุนทั้งหมด 7,861.37 และ 1,829.46 บาทตอไร หรือมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม 8.84

                       และ 12.62 บาท ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนผันแปรประมาณรอยละ 84  91

                       และ 93 สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ปและ 21 ปขึ้นไป ตามลําดับ ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะ

                       ตนทุนผันแปรแลวจะทําใหเกษตรกรมีกําไรโดยไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 299.55
                       8,929.69 และ 2,734.88  บาทตอไร ตามลําดับชวงอายุ

                                       จากตารางที่ 4-12 พบวา มังคุดที่ปลูกในภาคใตนั้น ไมวาพื้นที่ปลูกมังคุดที่สํารวจ

                       จะถูกจําแนกอยูในระดับความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินระดับใด เกษตรกรก็ประสบกับ

                       การขาดทุนทั้งสิ้น ทั้งนี้เปนเพราะมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัมของผลผลิตสูงกวาราคาผลผลิต
                       ที่เกษตรกรไดรับ  ขณะที่มังคุดที่ปลูกในภาคตะวันออก พบวาถาพื้นที่ปลูกนั้นถูกจัดอยูในระดับ

                       ความเหมาะสมเล็กนอย (S3)  แลวเกษตรกรประสบกับการขาดทุน 546.04 บาทตอไร แตถาพื้นที่

                       ปลูกจัดอยูในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) แลว เกษตรกรยังคง
                       มีกําไร เพราะมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัมต่ํากวาราคาที่เกษตรกรไดรับ คือ 11.68 และ 8.20

                       สําหรับพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูงและเหมาะสมปานกลาง ตามลําดับ

                                4.1.2.2 ตนทุน/รายไดและผลตอบแทนจําแนกตามภาค


                                       ภาคตะวันออก มังคุดที่ปลูกในภาคตะวันออกมีตนทุนทั้งหมดไรละ 6,443.37 บาท

                       จําแนกเปนตนทุนผันแปรไรละ 5,600.77 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 842.60 บาท คิดเปนรอยละ 87
                       และ 13  ตามลําดับ  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 4,552.61   บาท และ

                       ไมเปนเงินสดไรละ 1,890.76 บาท หรือประมาณรอยละ 71 และ 29   ของตนทุนทั้งหมด ตามลําดับ

                       ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดนอกจากคาภาษีที่ดิน 5.53 บาทตอไรแลวจะเปนตนทุนผันแปรทั้งหมด

                       ในจํานวนตนทุนผันแปรนั้นคาวัสดุการเกษตรมีมูลคามากกวาคาแรงงานประมาณ 80 บาทตอไร



                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131