Page 120 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 120

4-13








                       และ 91 ตามลําดับชวงอายุ    ดังนั้นเมื่อพิจารณาเฉพาะตนทุนผันแปรแลวทําใหเกษตรกรไดรับ
                       ผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปร 1,368.82  5,027.96  และ18,600.07  บาทตอไร ตามลําดับชวงอายุ

                                       พื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลาง (S2)  มังคุด  มีตนทุนทั้งหมดไรละ

                       4,657.97 บาท จําแนกเปนตนทุนผันแปรไรละ 3,976.59 บาท และตนทุนคงที่ไรละ 681.38 บาท
                       คิดเปนรอยละ 85 และ 15   ตามลําดับ  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ

                       3,057.26 บาท และไมเปนเงินสดไรละ 1,600.70 บาท ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดนั้นรอยละ 95.05

                       เปนตนทุนผันแปร  ซึ่งตนทุนผันแปรนั้นสวนใหญเปนคาแรงงานที่มีมูลคามากกวาคาวัสดุการเกษตร
                       ประมาณ 300 บาทตอไร  ซึ่งคาแรงงานประมาณรอยละ 93 เปนคาแรงงานคน คาปุยเคมีและ

                       คาน้ํามันเชื้อเพลิง/หลอลื่นนั้นมีสัดสวนประมาณรอยละ 29 และ 21 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด

                       ปริมาณผลผลิตที่เกษตรกรไดรับเฉลี่ยทุกชวงอายุ 453.53 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 14.50

                       บาทตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปเทากับ 6,576.19 บาท
                       ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 3,518.93 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       ผันแปรไรละ 2,599.60 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 1,918.22 บาท  ตนทุนเฉลี่ย

                       ตอกิโลกรัมของผลผลิตเทากับ 10.27 บาทซึ่งมีมูลคาต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ ทําให
                       เกษตรกรยังคงมีกําไรจากการผลิต (ตารางที่ 4-5 และตารางที่ 4-8)  เมื่อพิจารณาตามชวงอายุมังคุด

                       ในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกมังคุด (ตารางที่ 4-9) พบวา ตนทุนในปที่ 1

                       นั้นสัดสวนประมาณครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 51 ของตนทุนทั้งหมดเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาเปน

                       คาวัสดุการเกษตรมีมูลคาประมาณรอยละ 26 ของตนทุนทั้งหมด สําหรับชวงอายุที่เหลือนั้น
                       คาแรงงานมีสัดสวนมากที่สุดคิดเปนรอยละ 32 39  และ 40 ของตนทุนทั้งหมดในปที่ 2-6  ปที่ 7-13

                       และ 21 ปขึ้นไป  ตามลําดับ  ในปที่ 1 และปที่ 2-6 นั้น เกษตรกรยังไมมีรายไดเนื่องจากมังคุดปที่ 1 และ

                       ปที่ 2-6  ยังไมใหผลผลิตคงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว  เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับ
                       มูลคาของตนทุนที่เกิดขึ้น   ซึ่งถาพิจารณาตนทุนทุกประเภท ปรากฏวาปที่ 1 ไดรับผลตอบแทน

                       เหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ 2,548.68 บาท และ

                       3,042.27 บาท  สวนปที่ 2-6  ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุน
                       ทั้งหมดขาดทุนไรละ 1,941.87 และ 2,506.06 บาท  สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ป

                       ขึ้นไปนั้น เกษตรกรมีกําไรเนื่องจากมังคุดไดใหผลผลิตแลว 400.93  1,097.71 และ 1,380.95

                       กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ซึ่งถาพิจารณาในรายละเอียดของ พบวาคาวัสดุการเกษตรมีสัดสวนนอยกวา
                       คาแรงงาน  ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอไรของการผลิตมังคุดในชวงอายุอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไป

                       คือ 5,627.37  4,754.43 และ 9,515.76 บาท ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด

                       186.11  11,162.37 และ 10,508.02 บาทตอไร  และมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม 14.04 4.33





                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125