Page 114 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด
P. 114

4-9








                       12.23  ตามลําดับ ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนที่เปนเงินสดไรละ 4,344.07 บาท และไมเปนเงินสด
                       ไรละ 2,080.61 บาท ซึ่งตนทุนที่เปนเงินสดรอยละ 99.42  เปนตนทุนผันแปร ตนทุนผันแปรนั้น

                       สวนใหญเปนคาแรงงานมีมูลคาพอ ๆ กันกับคาวัสดุการเกษตร ซึ่งคาแรงงานประมาณรอยละ 89

                       เปนคาแรงงานคน คาปุยเคมีนั้นมีสัดสวนประมาณรอยละ 43 ของคาวัสดุการเกษตรทั้งหมด
                       ปริมาณผลผลิตที่เกษตรกรไดรับเฉลี่ยทุกชวงอายุ 491.92 กิโลกรัมตอไร ณ ราคาขายผลผลิต 14.50

                       บาทตอกิโลกรัม มูลคาของผลผลิตหรือรายไดเฉลี่ยตอไรตลอดชวงอายุ 25 ปเทากับ 7,132.84 บาท

                       ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนเงินสดไรละ 2,788.77 บาท ผลตอบแทนเหนือตนทุน
                       ผันแปรไรละ 1,493.68 บาท และผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดไรละ 708.16 บาท  ตนทุนเฉลี่ย

                       ตอกิโลกรัมของผลผลิตเทากับ 13.06 บาทซึ่งมีมูลคาต่ํากวาราคาผลผลิตที่เกษตรกรไดรับ ทําให

                       เกษตรกรยังคงมีกําไรจากการผลิต (ตารางที่ 4-5 และตารางที่ 4-6)  เมื่อพิจารณาตามชวงอายุมังคุด
                       ในพื้นที่ที่ดินมีความเหมาะสมสูงสําหรับการปลูกมังคุด พบวา ตนทุนในปที่ 1 นั้นสัดสวนประมาณ

                       ครึ่งหนึ่งหรือรอยละ 51 ของตนทุนทั้งหมดเปนคาแรงงาน ลําดับรองลงมาเปนคาวัสดุการเกษตร

                       มีมูลคาประมาณรอยละ 28 ของตนทุนทั้งหมด สําหรับชวงอายุ 2-6 ปนั้นคาใชจายในรายการตาง ๆ

                       มีมูลคาพอ ๆ กันโดยคาวัสดุการเกษตรเปนคาใชจายที่มีรองมาจากคาแรงงาน ลําดับรองลงมาคือ
                       คาแรงงาน ในปที่ 1 และปที่ 2-6 เกษตรกรยังไมมีรายไดเนื่องจากมังคุดปที่ 1และปที่ 2-6  ยังไมใหผลผลิต

                       คงมีแตคาใชจายเพียงอยางเดียว เกษตรกรจึงประสบกับการขาดทุนเทากับตนทุนที่เกิดขึ้นซึ่งถาพิจารณา

                       ตนทุนทุกประเภท ปรากฏวาปที่ 1 ไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุน

                       ทั้งหมดขาดทุนไรละ 2,979.97 และ  3,471.83 บาท  ตามลําดับ  สวนปที่ 2-6  ไดรับผลตอบแทน
                       เหนือตนทุนผันแปรและผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมดขาดทุนไรละ 1,828.80 และ 2,408.00 บาท

                       สําหรับชวงอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไปนั้น เกษตรกรมีกําไรเนื่องจากมังคุดใหผลผลิตแลว

                       442.70 1,481.25 และ 2,144.44  กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ซึ่งถาพิจารณารายละเอียดของตนทุน
                       ตามตารางที่ 4-7 พบวาคาวัสดุการเกษตรมีสัดสวนนอยกวาคาแรงงานในชวงอายุ 7-12 ป และ 13-20 ป

                       แตในชวงอายุ 21 ปขึ้นไปนั้นคาวัสดุการเกษตรมีมูลคามากกวาคาแรงงานประมาณ 3,000 บาทตอไร

                       อาจเปนเพราะเกษตรกรตองใชวัสดุปรับปรุงบํารุงดินจํานวนมาก   ตลอดจนคาน้ํามันเชื้อเพลิงที่ใช
                       ในการใหน้ําแกตนมังคุด ทั้งนี้เพื่อใหมังคุดในชวงอายุนี้ใหผลผลิตพอ ๆ กันหรือมากกวา 2 ชวงอายุแรก

                       ตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอไรของการผลิตมังคุดในชวงอายุอายุ 7-12 ป 13-20 ป และอายุ 21 ปขึ้นไปคือ

                       5,873.62  17,246.58  13,686.98 บาท ทําใหเกษตรกรไดรับผลตอบแทนเหนือตนทุนทั้งหมด 545.53
                       4,231.55 และ 17,407.40 บาทตอไร โดยมีตนทุนทั้งหมดเฉลี่ยตอกิโลกรัม 13.27  11.64 และ 6.38 บาท

                       ตามลําดับชวงอายุมังคุด  ในจํานวนตนทุนทั้งหมดนั้นเปนตนทุนผันแปรประมาณรอยละ 86  95







                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจมังคุด                         สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119