Page 57 - เขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแล้งในเขตชลประทาน
P. 57

2-41








                       2.5  สภาพการผลิตและการใชประโยชน


                           2.5.1 แหลงผลิตที่สําคัญ

                                 ถั่วเหลือง  เปนพืชเศรษฐกิจสําคัญชนิดหนึ่งของประเทศแตผลผลิตมีไมเพียงพอกับ

                       ความตองการใชโดยอัตราการเจริญเติบโตของการใชภายในประเทศทั้งการใชบริโภคและใน

                       อุตสาหกรรมตางๆ เพิ่มสูงขึ้นมากโดยเฉพาะความตองการใชถั่วเหลืองคุณภาพดีเพื่อการบริโภค
                       และอุตสาหกรรมอาหารรวมทั้งความตองการใชน้ํามันถั่วเหลืองและกากถั่วเหลืองของอุตสาหกรรม

                       ตอเนื่อง  ในขณะที่ผลผลิตภายในประเทศมีอัตราลดลง  อีกทั้งตนทุนการผลิตคอนขางสูงเพราะ

                       เปนพืชที่ตองมีการดูแลรักษาคอนขางมาก   แตเนื่องจากถั่วเหลืองเปนพืชอาหารโปรตีนที่มี

                       ความสําคัญรัฐจึงตองสงเสริมใหคงการผลิตไวเพื่อเปนหลักประกันความมั่นคงทางดานอาหาร
                       ของประเทศ เปนพืชหมุนเวียนและปรับปรุงบํารุงดินในระบบการจัดการฟารม โดยการสงเสริม

                       ใหมีการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเพื่อใหมีตนทุนต่ําลงและปลูกในบางพื้นที่ที่เหมาะสม

                       มีศักยภาพในการผลิต พรอมทั้งสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาการวิจัยและพัฒนาสายพันธุที่มีคุณภาพดี
                       และมีโปรตีนสูงปราศจากการตัดตอพันธุกรรม  เพื่อใชในการบริโภคและการแปรรูปผลิตภัณฑตางๆ

                                ถั่วเหลืองมีการเพาะปลูกในประเทศไทยอยางจริงจังตั้งแตป 2526/27  เปนตนมา

                       เนื่องจากความตองการใชในการผลิตอาหารสัตวสูงขึ้น  จากการขยายตัวของการสงออกเนื้อไก
                       รวมทั้งนโยบายและมาตรการของรัฐที่ควบคุมการนําเขาเมล็ดถั่วเหลืองและผลิตภัณฑ  จึงมีผลให

                       ราคาเมล็ดถั่วเหลืองอยูในเกณฑดีเปนที่พอใจของเกษตรกรจึงมีการขยายพื้นที่เพาะปลูกเพิ่มขึ้นจาก

                       ประมาณ 1 ลานไร ในป 2526/27 เปน 3 ลานไร ในป 2532/33 ซึ่งเปนปที่มีผลผลิตสูงสุดถึง 672,368 ตัน
                       หลังจากนั้นพื้นที่เพาะปลูกลดลงมาเปน 1.13 ลานไร .ในป 2545/46 และ 2546/47 (นโยบายและมาตรการ

                       ถั่วเหลืองป 2547) โดยในป 2546/47  มีพื้นที่เพาะปลูก 1,009,734  ไร  ผลผลิต 240,001  ตัน

                       ผลผลิตเฉลี่ย 238  กิโลกรัมตอไร  แหลงปลูกที่สําคัญ ไดแก จังหวัดสุโขทัย เชียงใหม พิษณุโลก

                       สระแกว ชัยภูมิ ขอนแกน (ตารางที่ 2-13 และตารางที่ 2-14)


                           2.5.2 สถิติการคา

                                 ความตองการใชเมล็ดถั่วเหลืองในประเทศป 2547  จํานวน 1,871,057  ตัน
                       โดยนําไปใชในลักษณะตางๆ ดังนี้

                                 1) ใชทําพันธุ ประมาณปละ 21,000 ตัน






                       เขตการใชที่ดินพืชเศรษฐกิจถั่วเหลืองฤดูแลงในเขตชลประทาน    สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62