Page 6 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 6
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
โครงการไว้แล้ว เกษตรกรในพื นที่มีความต้องการปรับรูปแปลงนาเพิ่มขึ นทุกปี เนื่องจากเกษตรกรได้รับ
ประโยชน์ในการกักเก็บน ้า และเกษตรกรต้องการสนับสนุนกล้าไม้ผล ไม้ยืนต้น เพื่อน้าไปปลูกในพื นที่ของตนเอง
7. ข้อเสนอแนะของผู้ประเมิน
7.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบำย
1) จากการสอบทานเอกสารการด้าเนินงาน ประกอบกับข้อตรวจพบจากการตรวจสอบ
โครงการพัฒนาพื นที่เฉพาะ ที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส้านักตรวจสอบภายใน ส้านักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า ไม่มีเอกสารหลักเกณฑ์/แนวทางการคัดเลือกเกษตรกรเพื่อเข้าร่วม
โครงการที่ชัดเจนเพียงพอ จึงเห็นควรให้มีการหารือกันระหว่างหน่วยงานส่วนกลางที่รับผิดชอบโครงการ
กับหน่วยงานในพื นที่ ว่าหลักเกณฑ์ที่ก้าหนดขึ นมีรายละเอียดสาระส้าคัญครบถ้วน ครอบคลุมการคัดเลือก
เกษตรกรตามวัตถุประสงค์ของโครงการหรือไม่ และไม่ท้าให้เกิดความเหลื่อมล ้าในการน้าพื นที่มาเข้าร่วม
โครงการของเกษตรกร รวมทั งร่วมกันก้าหนดหลักเกณฑ์/แนวทางการคัดเลือกเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
ทุกกิจกรรมเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ กรณีมีการปรับเปลี่ยน
เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบโครงการ ซึ่งมีความสอดคล้องกับผู้ประเมินที่ได้มีการพิจารณาข้อมูลและเอกสาร
ประกอบการด้าเนินงานจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้าในแต่ละพื นที่ ที่หน่วยรับการประเมินมีหรือน้าเอกสาร
หลักฐานมาแสดงไม่ครบถ้วน
2) จากผลการประเมินและการสังเกตการณ์ของผู้ประเมิน พบว่า บางพื นที่มีเฉพาะ
การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีกล ไม่มีการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีพืช
ซึ่งมีความส้าคัญและเกษตรกรมีความต้องการ จึงควรมีการพิจารณาความเหมาะสม หรือเหตุผลความจ้าเป็น
ในการสนับสนุนระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีกลควบคู่กับมาตรการวิธีพืช เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน และช่วยให้เกษตรกรสามารถใช้ประโยชน์ที่ดินได้ดียิ่งขึ น หรือหาก
มีความจ้าเป็นที่จะต้องจัดการพื นที่ด้วยวิธีใดวิธีหนึ่ง ควรจะต้องให้ความรู้แก่เกษตรกรในพื นที่ให้ทราบ
ถึงผลการพิจารณาด้าเนินการ
3) จากผลการประเมินและการสังเกตการณ์ของผู้ประเมิน พบว่า บางพื นที่มีรูปแบบ
การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้าไม่สอดคล้องกับสภาพพื นที่และวัตถุประสงค์ของโครงการ จึงเห็นควรมอบหมาย
ให้ผู้อ้านวยการส้านักงานพัฒนาที่ดินเขตและสถานีพัฒนาที่ดิน ก้ากับ ดูแล การเลือกรูปแบบการจัดระบบ
อนุรักษ์ดินและน ้า รวมถึงการจัดท้าแบบแปลนการก่อสร้างให้สอดคล้องตามศักยภาพของพื นที่ และเป็นไปตาม
หลักวิชาการหรือมาตรการด้านระบบอนุรักษ์ดินและน ้าของพื นที่เป้าหมายนั น ๆ อย่างแท้จริง
4) ควรมีการร่วมบูรณาการกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเสริมศักยภาพการผลิต
ของกิจกรรมด้านระบบอนุรักษ์ดินและน ้าให้เกิดประสิทธิภาพในการด้าเนินงานในระดับพื นที่มากยิ่งขึ น
7.2 ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ
1) เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานควรมีการติดตามงานอย่างต่อเนื่อง และให้ค้าแนะน้าแก่เกษตรกร
ในการใช้ประโยชน์และการดูแลรักษาระบบอนุรักษ์ดินและน ้า เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าและสามารถใช้ประโยชน์
ที่ดินได้อย่างยาวนาน และเกิดประสิทธิภาพอย่างสูงสุด
2) จากการสอบทานเอกสารการด้าเนินงาน ประกอบกับข้อตรวจพบจากการตรวจสอบ
โครงการพัฒนาพื นที่เฉพาะ ที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ของส้านักตรวจสอบภายใน ส้านักงาน
ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พบว่า เอกสารสิทธิ์ที่เกษตรกรน้ามาแนบประกอบการเข้าร่วมโครงการฯ