Page 3 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 3

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน






                                                   บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร

                         การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้าของกรมพัฒนาที่ดิน ประจ้าปี

                  งบประมาณ 2566 มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของการด้าเนินงานกิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์
                  ดินและน ้า ปีงบประมาณ 2564 และทราบถึงความพึงพอใจ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ
                  ต่อการด้าเนินงานของเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื นที่ที่ได้รับการสาธิตการจัดระบบอนุรักษ์
                  ดินและน ้า ปีงบประมาณ 2564 ในกิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าชุมชนบนพื นที่สูง กิจกรรมอนุรักษ์

                  ดินและน ้าในพื นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้าบนพื นที่ลุ่ม-ดอน กิจกรรมพัฒนาที่ดิน
                  เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map กิจกรรมพัฒนาและแก้ปัญหา
                  การแพร่กระจายดินเค็ม และกิจกรรมพัฒนาลุ่มน ้าทะเลสาบสงขลา รวมจ้านวนทั งสิ น 35 แปลง โดยด้าเนินการ

                  เก็บรวบรวมข้อมูล โดยการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง จ้านวน 332 ราย และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน
                  ในพื นที่ จ้านวน 27 ราย รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั งสิ น 359 ราย ในพื นที่ 13 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดก้าแพงเพชร
                  เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ สระบุรี ล้าปาง พะเยา ขอนแก่น นครราชสีมา ชุมพร ระนอง นครศรีธรรมราช
                  สุราษฎร์ธานี และพัทลุง โดยสรุปผลการประเมิน ได้ดังนี

                         1. สภำพปัญหำของพื้นที่

                            เกษตรกรมีความคิดเห็นว่า พื นที่ท้าการเกษตรมีการชะล้างพังทลายของดิน ร้อยละ 67.17 ในส่วนของ
                  พื นที่ดินเค็ม ส่วนใหญ่เป็นพื นที่ดินเค็มปานกลาง ร้อยละ 58.33 และเกษตรกรที่ได้รับการสนับสนุนกิจกรรม
                  พัฒนาที่ดินเพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map พบปัญหาจากการผลิต
                  สินค้าเกษตรชนิดเดิม ร้อยละ 89.13 โดยเกษตรกรพบปัญหาผลผลิตน้อยมากที่สุด รองลงมา ขาดแคลนน ้า
                  เพื่อการเกษตร ดินขาดความอุดมสมบูรณ์ ต้นทุนการผลิตสูง ผลผลิตมีคุณภาพต่้า ราคาผลผลิตตกต่้า พื นที่

                  ไม่สม่้าเสมอ และมีน ้าท่วมขัง ตามล้าดับ

                         2. ระบบอนุรักษ์ดินและน้ ำที่เกษตรกรได้รับกำรสนับสนุน/สำธิต
                            จากผลการประเมิน พบว่า ระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มาตรการวิธีกลที่เกษตรกรได้รับการสนับสนุน/
                  สาธิตมากที่สุด คือ การปรับรูปแปลงนา ร้อยละ 45.48 และมาตรการวิธีพืชที่เกษตรกรได้รับการสนับสนุน/

                  สาธิตมากที่สุด คือ การปลูกหญ้าแฝก ร้อยละ 37.99 โดยเกษตรกรมีความคิดเห็นต่อระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
                  ที่ได้รับการสนับสนุน/สาธิตในพื นที่ว่า ระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีกลมีความเหมาะสมในระดับ
                  มากที่สุด โดยระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีกลที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ การก่อสร้างแหล่งน ้า
                  ในไร่นา ในส่วนของระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามาตรการวิธีพืชมีความเหมาะสมในระดับมาก โดยระบบอนุรักษ์

                  ดินและน ้ามาตรการวิธีพืชที่มีความเหมาะสมมากที่สุด คือ การปลูกพืชหมุนเวียน

                         3. ควำมคิดเห็นของเจ้ำหน้ำที่ต่อกำรด ำเนินกิจกรรม
                            เจ้าหน้าที่มีความคิดเห็นต่อการด้าเนินกิจกรรมอยู่ในระดับมาก คิดเป็นคะแนนเฉลี่ย 3.66 (คะแนน
                  เต็ม 5 คะแนน) โดยมีความคิดเห็นว่า กระบวนการด้าเนินงานที่กรมฯ ก้าหนด ท้าให้เกิดความสะดวกในการ
                  ปฏิบัติงาน และช่วยให้งานแล้วเสร็จตามเวลา ความร่วมมือของ สพข. และหน่วยงานส่วนกลางในการ

                  ด้าเนินงาน การส้ารวจออกแบบล่วงหน้าท้าให้เกิดความสะดวก รวดเร็วในการด้าเนินงานในปีถัดไป งบประมาณ
                  ในการด้าเนินงานมีความเพียงพอเหมาะสม กระบวนการจัดซื อจัดจ้างมีความสะดวกทันต่อการด้าเนินงาน
                  กระบวนการจัดท้าและพิจารณาแบบแปลนการก่อสร้างมีความสะดวกทันต่อการด้าเนินงาน และการจัดสรร
                  งบประมาณลงพื นที่ทันต่อการด้าเนินงานก่อนฤดูกาลเพาะปลูกของเกษตรกรและช่วงฤดูฝน อยู่ในระดับมาก
   1   2   3   4   5   6   7   8