Page 4 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 4

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน







                            ในส่วนของกระบวนการขอรับการจัดสรรงบประมาณค่าก่อสร้างและค่าควบคุมงานมีความสะดวก
                  ทันต่อการด้าเนินงาน และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานมีจ้านวนเพียงพอ สามารถแบ่งหน้าที่รับผิดชอบโครงการได้
                  อยู่ในระดับปานกลาง

                         4. ผลสัมฤทธิ์จำกกำรจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ ำ ปีงบประมำณ 2564

                            จากการประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้าของกรมพัฒนาที่ดิน

                  ที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ 2564 พบว่า หลังจากเกษตรกรได้รับการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน ้า ท้าให้เกิด
                  ผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ ดังนี

                            4.1 ด้ำนผลผลิต เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงผลผลิตเพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 5.79 โดยเกษตรกร
                  ผู้ปลูกพืชผักสวนครัวมีการเปลี่ยนแปลงผลผลิตเพิ่มขึ นมากที่สุด เฉลี่ยร้อยละ 29.70 จากเดิมมีผลผลิต
                  1,164.76 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากได้รับระบบอนุรักษ์ดินและน ้ามีผลผลิต 1,510.70 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมา

                  เกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี ยงสัตว์ มีการเปลี่ยนแปลงผลผลิตเพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 27.26 จากเดิมมีผลผลิต
                  710.15 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากได้รับระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีผลผลิต 903.77 กิโลกรัมต่อไร่ ปลูกอ้อยโรงงาน
                  มีการเปลี่ยนแปลงผลผลิตเพิ่มขึ น เฉลี่ยร้อยละ 15.96 จากเดิมมีผลผลิต 6,375 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากได้รับ
                  การจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีผลผลิต 7,392.24 กิโลกรัมต่อไร่ ปาล์มน ้ามัน มีการเปลี่ยนแปลงผลผลิต

                  เพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 12.10 จากเดิมมีผลผลิต 1,831.50 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากได้รับระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
                  มีผลผลิต 2,053.15 กิโลกรัมต่อไร่ และข้าว มีการเปลี่ยนแปลงผลผลิตเพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 9.79 จากเดิม
                  มีผลผลิต 427.65 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากได้รับระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีผลผลิต 469.53 กิโลกรัมต่อไร่ ตามล้าดับ

                               ส้าหรับการปรับเปลี่ยนชนิดพืชที่เพาะปลูก หลังจากเข้าร่วมโครงการ กิจกรรมพัฒนาที่ดิน

                  เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map พบว่า เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยน
                  ชนิดพืชที่เพาะปลูกเพื่อให้เหมาะสมกับพื นที่ ร้อยละ 21.74 โดยภายหลังจากมีการปรับเปลี่ยนการผลิตแล้ว
                  เกษตรกรได้รับผลตอบแทนมากกว่าการผลิตสินค้าเกษตรชนิดเดิม

                            4.2 ด้ำนต้นทุนกำรผลิต เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ยร้อยละ 3.24
                  โดยเกษตรกรผู้ปลูกอ้อยโรงงานมีต้นทุนการผลิตเฉลี่ยลดลงมากที่สุด เฉลี่ยร้อยละ 16.46 จากเดิมมีต้นทุน

                  2,893.23 บาทต่อไร่ หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีต้นทุน 2,416.93 บาทต่อไร่ รองลงมา
                  เกษตรกรผู้ปลูกพืชผักสวนครัว มีต้นทุนการผลิตลดลงเฉลี่ยร้อยละ 9.32 จากเดิมมีต้นทุน 2,768.60 บาทต่อไร่
                  หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีต้นทุน 2,510.58 บาทต่อไร่ ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ มีต้นทุนเฉลี่ย
                  ลดลงร้อยละ 5.77 จากเดิมมีต้นทุน 2,020.86 บาทต่อไร่ หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า

                  มีต้นทุน 1,904.19 บาทต่อไร่ ข้าว มีต้นทุนเฉลี่ยลดลงร้อยละ 3.84 จากเดิมมีต้นทุน 1,680.69 บาทต่อไร่
                  หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีต้นทุน 1,616.17 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ ไม้ผล มีต้นทุนเฉลี่ย
                  ลดลงร้อยละ 3.78 จากเดิมมีต้นทุน 13,616.47 บาทต่อไร่ หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
                  มีต้นทุน 13,101.42 บาทต่อไร่ ตามล้าดับ

                            4.3 ด้ำนรำยได้ เกษตรกรมีการเปลี่ยนแปลงรายได้เพิ่มขึ น ร้อยละ 11.90 โดยเกษตรกรผู้ปลูก

                  ข้าวโพดเลี ยงสัตว์ มีรายได้เฉลี่ยเพิ่มขึ นมากที่สุด เฉลี่ยร้อยละ 45.51 จากเดิมมีรายได้ 5,192.31 บาทต่อไร่
                  หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีรายได้ 7,555.21 บาทต่อไร่ รองลงมา อ้อยโรงงาน มีรายได้
                  เพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 43.89 จากเดิมมีรายได้ 6,140.10 บาทต่อไร่ หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า
                  มีรายได้ 8,834.90 บาทต่อไร่ ข้าว มีรายได้เพิ่มขึ นเฉลี่ยร้อยละ 22.05 จากเดิมมีรายได้ 2,402.83 บาทต่อไร่

                  หลังจากได้รับการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน ้า มีรายได้ 2,932.73 บาทต่อไร่ ไม้ผล มีรายได้เพิ่มขึ นเฉลี่ย
   1   2   3   4   5   6   7   8   9