Page 18 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน








                  1.4 เครื่องมือที่ใช้ในกำรประเมิน

                         การประเมินผลครั้งนี้ ผู้ประเมินใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Interview)
                  เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บข้อมูลจากเกษตรกรที่เข้าร่วมกิจกรรม และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่
                  โดยผู้ประเมินได้ก้าหนดกรอบของค้าถามในการสัมภาษณ์ ประกอบไปด้วยประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป
                  การประเมินสภาพแวดล้อม ปัจจัยน้าเข้า กระบวนการด้าเนินงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ การเปลี่ยนแปลงของผลผลิต

                  รายได้ ประโยชน์ที่ได้รับ ปัญหาอุปสรรคในการด้าเนินงาน ความพึงพอใจ ความคิดเห็น รวมถึงข้อเสนอแนะ
                  ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่

                         โดยผู้ประเมินได้ท้าการทดสอบความน่าเชื่อถือ (Reliability) ของเครื่องมือ โดยทดสอบกับ
                  กลุ่มตัวอย่างที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จ้านวน 30 ชุด จากนั้นน้ามาวิเคราะห์หาค่าความเชื่อมั่น
                  โดยใช้สถิติหาค่าความเชื่อมั่นด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Alpha Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach's

                  Alpla Coefficient) โดยใช้เกณฑ์สัมประสิทธิ์แอลฟา ตั้งแต่ 0.80 ขึ้นไป ซึ่งจากการทดสอบ ได้ค่าสัมประสิทธิ์
                  แอลฟาเท่ากับ 0.87 กล่าวได้ว่า มีความน่าเชื่อถือ สามารถน้าแบบสัมภาษณ์ไปใช้ในการเก็บข้อมูลได้

                  1.5 กรอบแนวคิดกำรประเมิน

                         การประเมินผลในครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ก้าหนดกรอบแนวคิดโดยใช้รูปแบบ CIPP Model ในการประเมิน
                  สภาวะแวดล้อม ปัจจัยน้าเข้า กระบวนการ ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของโครงการ โดยได้ก้าหนด

                  กรอบแนวคิดการประเมินผล ดังนี้
                    วัตถุประสงค์กำร        ประเด็นกำรประเมิน           ตัวชี้วัดในกำรประเมิน        เกณฑ์
                        ประเมิน
                  1. เพื่อทราบถึง     1. กำรประเมินสภำวะแวดล้อม

                  ผลสัมฤทธิ์ของการ    (Context Evaluation)
                  ด้าเนินงานกิจกรรม   - สภาพปัญหาของพื้นที่        - ลักษณะสภาพปัญหาของพื้นที่  - ตามสภาพ
                  จัดระบบอนุรักษ์ดิน                                                            ปัญหาของพื้นที่

                  และน้้า ปีงบประมาณ  2. กำรประเมินปัจจัยน ำเข้ำ
                  2564                (Input Evaluation)
                                      - รูปแบบการจัดระบบอนุรักษ์   - รูปแบบการจัดระบบอนุรักษ์   - ตามเป้าหมาย
                                      ดินและน้้า                   ดินและน้้าที่เกษตรกรได้รับการ ที่ก้าหนด

                                                                   สนับสนุน
                                                                   - ระดับความเหมาะสมของ        - ไม่น้อยกว่า
                                                                   รูปแบบการจัดระบบอนุรักษ์     ระดับมาก
                                                                   ดินและน้้าที่เกษตรกรได้รับ

                                                                   การสนับสนุน
                                      - งบประมาณที่ได้รับจัดสรร    - ระดับความเพียงพอของ        - ไม่น้อยกว่า
                                                                   งบประมาณที่ได้รับจัดสรร      ระดับมาก
                                                                   - ระดับความทันเวลาในการ      - ไม่น้อยกว่า

                                                                   จัดสรรงบประมาณลงพื้นที่      ระดับมาก
                                      - เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน   - ระดับความเพียงพอของ        - ไม่น้อยกว่า
                                                                   เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่   ระดับมาก
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23