Page 17 - การประเมินผลสัมฤทธิ์กิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำของกรมพัฒนาที่ดิน ประจำปีงบประมาณ 2566
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
เพื่อการส่งออกในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ กิจกรรมพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา กิจกรรมฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการเลี้ยงกุ้ง
กุลาด้า กิจกรรมการพัฒนาพื้นที่ทุ่งสัมฤทธิ์ กิจกรรมเพิ่มศักยภาพการผลิตข้าวอินทรีย์และพืชหลังนา
เพื่อการส่งออกในพื้นที่ทุ่งหมาหิว จ.อุบลราชธานี กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าพร้อมปลูกไม้ยืนต้น
โตเร็ว และกิจกรรมลดการเผาพื้นที่โล่งเตียน เพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน เป้าหมายด้าเนินการรวมทั้งสิ้น
433,930 ไร่ โดยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าที่น้ามาใช้ ได้แก่ มาตรการอนุรักษ์วิธีกล ซึ่งเป็นวิธีการอนุรักษ์
ดินและน้้าที่ค่อนข้างถาวร มีประสิทธิภาพสูง แต่ต้องใช้งบประมาณในการลงทุนค่อนข้างสูงเช่นกัน
และมาตรการวิธีพืชเพื่อช่วยในการปรับปรุงบ้ารุงดินและลดความแรงของเม็ดฝน ดักตะกอนดิน และชะลอ
ความเร็วของน้้า โดยการเลือกใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้้าในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกันตามลักษณะ
และสภาพปัญหาของพื้นที่ รวมถึงปัจจัยอื่น ๆ
กลุ่มติดตามและประเมินผล กองแผนงาน ได้เห็นถึงความส้าคัญของการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
ในแต่ละรูปแบบและแต่ละพื้นที่ จึงได้ท้าการประเมินผลการจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ที่ด้าเนินการ
ในปีงบประมาณ 2564 โดยเลือกกิจกรรมที่เป็นตัวแทนของแต่ละภูมิภาค จ้านวน 4 ภูมิภาค เพื่อให้
การประเมินผลครอบคลุมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า ที่กรมพัฒนาที่ดินเข้าไปด้าเนินการให้แก่เกษตรกร
ได้แก่ กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าชุมชนบนพื้นที่สูง และกิจกรรมอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เสี่ยง
ต่อดินถล่ม ในพื้นที่ภาคเหนือ กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน และกิจกรรมพัฒนาที่ดิน
เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map ในพื้นที่ภาคกลาง กิจกรรมพัฒนา
และแก้ปัญหาการแพร่กระจายดินเค็ม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์
ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน กิจกรรมพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา และกิจกรรมอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เสี่ยง
ต่อดินถล่ม ในพื้นที่ภาคใต้ รวมทั้งสิ้น 35 แปลง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบถึงความส้าเร็จที่สะท้อน
ให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ของการด้าเนินงานและเป็นข้อมูลให้ผู้บริหารกรมพัฒนาที่ดิน ใช้เป็นแนวทางหรือข้อเสนอ
ในการพัฒนา รวมถึงให้ผู้ที่เกี่ยวข้องน้าไปปรับปรุง พัฒนา และขยายผลไปสู่โครงการในระยะต่อไป
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรประเมิน
1.2.1 เพื่อทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของการด้าเนินงานกิจกรรมด้านการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
ปีงบประมาณ 2564
1.2.2 เพื่อทราบถึงความพึงพอใจ ความคิดเห็น ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อการด้าเนินงาน
ของเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่
1.3 ขอบเขตกำรประเมิน
1.3.1 เชิงพื้นที่ เป็นการประเมินผลการด้าเนินงานจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ปีงบประมาณ 2564
กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าชุมชนบนพื้นที่สูง และกิจกรรมอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม
ในพื้นที่ภาคเหนือ กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้าบนพื้นที่ลุ่ม-ดอน และกิจกรรมพัฒนาที่ดิน
เพื่อสนับสนุนการปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสมตาม Agri-Map ในพื้นที่ภาคกลาง กิจกรรมพัฒนา
และแก้ปัญหาการแพร่กระจายดินเค็ม ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิจกรรมจัดท้าระบบอนุรักษ์ดินและน้้า
บนพื้นที่ลุ่ม-ดอน กิจกรรมพัฒนาลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา และกิจกรรมอนุรักษ์ดินและน้้าในพื้นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม
ในพื้นที่ภาคใต้ รวมจ้านวนทั้งสิ้น 35 แปลง ในพื้นที่ 13 จังหวัด
1.3.2 เชิงระยะเวลำ เป็นการเก็บข้อมูลในปีงบประมาณ 2566 จากเกษตรกรเจ้าของแปลงสาธิต
การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้้า ที่ด้าเนินการในปีงบประมาณ 2564 จ้านวน 332 ราย และเจ้าหน้าที่
ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ จ้านวน 27 ราย รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 359 ราย