Page 25 - ผลงานการถอดบทเรียนการจัดการดินเพื่อปลูกพืชสมุนไพร : เผยแพร่ในวันครบรอบสถาปนา 61 ปี วันที่ 23 พฤษภาคม 2567 ภายใต้หัวข้อ “พัฒนาที่ดิน เกษตรกรทำกินอย่างยั่งยืน"
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                 23








                                ขั้นตอนการปลูกพืชสมุนไพรขมิ้นชัน







                   ขั้นตอน                              วิธีเกษตรกร                      หมายเหตุ
            พันธุ์                 ขมิ้นชันตาขุนหรือขมิ้นชันทอง ขมิ้นชันแดงสยาม

            การเตรียมดิน           - ปรับปรุงโครงสร้างดินด้วยปอเทืองหรือพืชตระกูลถั่ว

                                   - ปลูกแบบยกร่องและไม่ยกร่อง

                                   - รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมัก/ปุ๋ยคอก อัตรา 300 กรัมต่อหลุม

            การเตรียมพันธุ์        ใช้หัวแม่หรือเหง้าอายุ 10  - 12  เดือน ถ้าเป็นเหง้าควรมีความ
                                   ยาว 8 - 12 เซนติเมตร




            ฤดูปลูก                เดือนพฤษภาคม

            วิธีการปลูก/ระยะปลูก   ขุดหลุมลึก 10 - 15 เซนติเมตร ระยะปลูก 40 x 40 เซนติเมตร
                                   ควรรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก หัวพันธุ์หรือเหง้าใน

                                   หลุมแล้ว กลบดิน ระยะปลูกห่างกัน 50 - 70 เซนติเมตร หรือ
                                   ตามความเหมาะสมของพื้นที่

            การใส่ปุ๋ย             หลังปลูก 1 เดือน และหลังปลูก 3 เดือน ใส่ปุ๋ยหมักปีละ 2 ครั้ง
                                   ในอัตรา 500  กิโลกรัมต่อไร่ เมื่อต้นอายุ 1  เดือนจะฉีดพ่นด้วย

                                   น้ าหมักชีวภาพในอัตรา 1 : 1,000 ทุกๆ 7 - 10 วัน
            การให้น้ า             น้ าฝน

            การป้องกันก าจัดวัชพืช  ถอนหรือใช้จอบดาย พรวนดิน และกลบโคนก าจัดวัชพืช 3 ครั้ง
                                   คือ ระยะเริ่มงอก ระยะ 3 เดือน และระยะ 6 เดือน

            การเก็บเกี่ยว          เก็บเกี่ยวในช่วงขมิ้นชันมีอายุ 9 - 10 เดือน
            การเก็บรักษาพันธุ์     ผึ่งหัวพันธุ์ไว้ในร่ม แห้ง สะอาด ปราศจากโรคและแมลง หรือ

                                   บรรจุในกระสอบ




            โรคพืช/แมลง            โรคเหง้าและรากเน่า โรคใบจุด เมื่อพบเจอโรค ควรถอนและเผา
                                   ท าลาย แมลงศัตรูส าคัญ เช่น หนอนเจาะต้น แมลงดูดกิน

                                   น้ าเลี้ยง   เมื่อพบการแพร่ระบาดควรท าลาย
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30