Page 21 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
ผลกระทบด้ำนนิเวศวิทยำ
ด้ำน ผลกระทบ ก่อน หลัง
1. คุณภาพน ้า เชิงบวกอย่ำง มีปัญหาน ้าเสีย ปัญหาน ้าเสียลดลงมาก
มำก
2. ความเค็ม เชิงบวกอย่ำง ระดับความเค็ม ระดับความเค็ม 28-32 ppt เหมาะ
ของน ้า มำก ของน ้ามากกว่า ส าหรับการเพาะเลี้ยงสาหร่ายพวง
700 ppt องุ่น
3.ความหลากหลาย เชิงบวก ไม่มี มีการน าสัตว์น ้าเข้าไปร่วมเพาะเลี้ยง
ของสัตว์เพาะเลี้ยง ได้แก่ ปลากะพง กุ้ง และปูม้า
2. ผลกระทบนอกพื้นที่ด ำเนินกำร (Off-site) จำกกำรใช้เทคโนโลยี
ด้ำน ผลกระทบ ก่อน หลัง
1. ความสามารถต่อการ เชิงบวก เป็นพื้นที่นาเกลือ ดิน พื้นที่ด้านป่าชายเลนมีการ
ต้านทานการเปลี่ยนแปลง / จึงเค็มจัดมาก ไม่มีพืช ปรับสภาพดีขึ้น มีป่า
ความสามารถในการคัดกรอง ขึ้นเลย โกงกางเพิ่มมากขึ้น เริ่มมี
(โดยดิน พืช พื้นที่ชุ่มน ้า) ความหลากหลายของพืช
2. การเกิดมลพิษต่อ เชิงบวก มีการปล่อของเสียออก การเพาะเลี้ยงสาหร่ายเป็น
ชายทะเล จากระบบ การช่วยก าจัดของเสีย ลด
การเกิดมลพิษทางทะเลท า
ให้น ้าทะเลสะอาดมากขึ้น
12