Page 19 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





               ลักษณะสมบัติของสิ่งแวดล้อมทำงธรรมชำติ


                              พื้นที่ดังกล่าวมีปริมาณน ้าฝนเฉลี่ยในพื้นที่ อยู่ ประมาณ 987.40 มิลลิเมตรอยู่ในระดับกึ่ง


               แห้งแล้ง  พื้นที่มีลักษณะราบเรียบ  ระดับความสูง  1  เมตร จากระดับทะเลปานกลาง ดินลึกมาก (มากกว่า


               120 เซนติเมตร) เนื้อดินชั้นบน เป็นดินเหนียว  เนื้อดินชั้นล่างเป็นดินเหนียว ระดับอินทรียวัตถุสูง (>3%) ไม่


               สามารถใช้ประโยชน์จากน ้าบาดาลได้ น ้าผิวดินอยู่ในระดับเกินพอ  คุณภาพน ้า (ยังไม่ได้รับการบ าบัด)



               เป็นน ้าที่สามารถใช้เพื่อการเกษตรเท่านั้น และเป็นดินเค็มชายทะเล


               1. ผลกระทบในพื้นที่ด ำเนินกำร (On-site) จำกเทคโนโลยีกำรเพำะเลี้ยง

                       ผลกระทบด้ำนเศรษฐกิจและสังคม



                        ด้ำน            ผลกระทบ               ก่อน                      หลัง


                 1. ความหลากหลาย       เชิงบวกอย่ำง     ใช้เป็นพื้นที่ท านา   เพาะเลี้ยงสาหร่ายพวงองุ่น และมี


                 ของผลิตภัณฑ์              มำก         เกลือและเลี้ยงไรทะเล  การปล่อยกุ้งและปู เข้าไปในระบบ


                                                       ได้ผลผลิตน้อยไม่คุ้ม  เพาะเลี้ยง ท าให้เกิดความ



                                                       ทุน                  หลากหลาย



                 2. พื้นที่ส าหรับการ    เชิงบวก        มีน้อยมาก            เมื่อเกษตรกรได้รับการถ่ายทอด


                 ผลิต                                                       องค์ความรู้จึงท าให้มีการขยาย


                                                                            พื้นที่การผลิตมากขึ้น



                 3. ค่าใช้จ่ายของ       ผลกระทบ


                 ปัจจัยการผลิตทาง       ที่ละเลยได้



                 การเกษตร







                                                           10
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24