Page 25 - รายงานฉบับสมบูรณ์ แนวปฏิบัติการที่ดี (good practices) บริเวณพื้นที่ดินเค็มในประเทศไทย
P. 25
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
กลุ่มประมงพัฒนำสำหร่ำยเพชรบุรี
ที่มำ
กระแสความนิยมบริโภคอาหารสุขภาพซึ่งก าลังเป็นค่านิยมหลักอันหนึ่งของสังคมไทยในยุค
ปัจจุบัน นับเป็นปัจจัยส าคัญที่ช่วยให้ประชาชนหันมาเห็นความส าคัญของทรัพยากรสาหร่ายทะเลและเกิด
ความต้องการผลผลิตและวัตถุดิบท าให้เกิดธุรกิจการเพาะเลี้ยงสาหร่ายทะเลขึ้นมาก สาหร่ายทะเล
โดยเฉพาะสาหร่ายพวงองุ่นเป็นสาหร่ายอีกชนิดหนึ่งก าลังได้รับความนิยมเพาะเลี้ยง เนื่องจากเป็นสาหร่าย
ที่มีรสชาติดีและจัดเป็นอาหารสุขภาพมีคุณค่าทางอาหารสูงอุดมด้วยวิตามินหลายชนิดจึงมีผู้ให้ความ
สนใจเพาะเลี้ยงและแปรรูปสาหร่ายเพื่อเป็นอาหารสุขภาพเป็นจ านวนมาก การจัดตั้งกลุ่มเกษตรกรที่
เพาะเลี้ยงสาหร่าย เป็นการรวมตัวกันของเกษตรกรในพื้นที่ต าบลแหลมผักเบี้ย ต าบลบางแก้ว อ าเภอบ้านแหลม
และต าบลหาดเจ้าส าราญ อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี และพื้นที่ต าบลใกล้เคียง เนื่องจากประชาชนส่วน
ใหญ่จะประกอบอาชีพท านาเกลือและท าการประมงชายฝั่ง เพื่อเป็นการสร้างอาชีพใหม่หรือเป็นอาชีพเสริม
ก่อให้เกิดรายได้แก่ครอบครัว ส่งเสริมให้สาหร่ายทะเลเป็นที่รู้จัก เป็นการขยายตลาด และเผยแพร่ความรู้
ให้แก่เกษตรกร ตลอดจนผู้สนใจในการประกอบอาชีพสาหร่ายทะเล ส าหรับเบื้องต้นมีผู้สมัครเป็นสมาชิก
ของกลุ่ม จ านวน 26 คน มีคณะกรรมการด าเนินงาน จ านวน 9 คน โดยได้ก าหนดสถานที่จัดตั้งกลุ่มประมง
พัฒนาสาหร่ายทะเลเพชรบุรี ณ เลขที่ 118 หมู่ 1 ต าบลแหลมผักเบี้ย อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
สถำนที่ด ำเนินกำร บ้านเลขที่ 118 หมู่ที่ 1 ต าบล แหลมผักเบี้ย อ าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
ผู้ใช้ที่ดิน 1. นายมนู เผ่าจันทร์
2. นายประพัฒน์ กอสวัสดิ์พัฒน์
3. นายนิรุทธ์ ศรีนวล
16