Page 35 - การประเมินผลการจัดงานวันดินโลก ปี 2565 "Soils, Where food begins : อาหารก่อกำเนิดเกิดจากดิน"
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       24





                   ตารางที่ 14 : ความพึงพอใจต่อนิทรรศการนวัตกรรมจุลินทรีย์สู่การผลิตอาหารปลอดภัย

                                                                                                n = 1,003

                                                     ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
                                ข้อมูล                                             X      S.D.  แปลผล
                                                      มาก  ปานกลาง  น้อย
                   จุดที่ 4 : นวัตกรรมจุลินทรีย์สู่การผลิต 96.91   2.69   0.40    2.97  0.20       มาก
                   อาหารปลอดภัย

                          4.5 นิทรรศการฐานการปรุงดิน มีผู้ร่วม Check in และตอบแบบประเมินความพึงพอใจ จำนวน

                   970 ราย โดยผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( X = 2.97 , S.D. = 0.20) (ตารางที่ 15)

                   ตารางที่ 15 : ความพึงพอใจนิทรรศการฐานการปรุงดิน

                                                                                                  n = 970

                                                     ระดับความพึงพอใจ (ร้อยละ)
                                ข้อมูล                                             X      S.D.  แปลผล
                                                      มาก  ปานกลาง  น้อย
                   จุดที่ 5 : ฐานการปรุงดิน          96.91      2.78      0.31    2.97  0.20       มาก


                   5. ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร


                          การทดสอบสมมติฐานเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยตัวแปรต้น ได้แก่ อายุ (ต่ำกว่า 30 ปี,
                   31-40 ปี, 41-50 ปี, 51-60 ปี และ 61 ปี ขึ้นไป) สถานภาพ (เกษตรกร หมอดินอาสา เจ้าหน้าที่

                   หน่วยงานภาครัฐ เจ้าหน้าที่หน่วยงานภาคเอกชน ประชาชนทั่วไป นักเรียน/นักศึกษา และสื่อมวลชน)
                   และการศึกษา (ต่ำกว่าปริญญาตรี ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก) ส่วนตัวแปรตาม ได้แก่
                   ความคิดเห็นหลังเข้าร่วมงานวันดินโลก ความชื่นชอบนิทรรศการ/กิจกรรม การนำความรู้ที่ได้รับ

                   จากการเข้าร่วมชมงานไปใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจต่อการจัดงานวันดินโลก ซึ่งทำการทดสอบด้วย
                   Chi-square และ One-way ANOVA  โดยผลการทดสอบสมมติฐาน มีดังนี้

                   สมมติฐานที่ 1
                          ผู้ประเมินทำการทดสอบสมมติฐานโดยวิธีการวิเคราะห์เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
                   มากกว่า 2 กลุ่มประชากร หรือการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว โดยใช้ One-way ANOVA
                   เพื่อทดสอบว่าผู้เข้าร่วมงานวันดินโลกที่มีอายุ สถานภาพ และการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจ

                   ต่อการจัดงานวันดินโลก ปี 2565 แตกต่างกันหรือไม่ โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 (ตารางที่ 16)
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40