Page 68 - คำนิยามข้อมูลแผนที่การใช้ที่ดิน
P. 68

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                           45



                       ถั่วแดง เปนถั่วพุมที่มีเมล็ดคลายไต เมล็ดมีหลายสี อาทิ สีแดง สีแดงเขมหรือแดงมวง และสีชมพู

               นิยมใชประกอบอาหารทั้งคาว และหวาน ในไทยพบปลูก 2 ชนิด คือ ถั่วแดงหลวง (Phasecolus vulgaris L.)
               และถั่วนิ้วนางแดง (Phaseolus calcaratus Roxb.) ซึ่งเปนพืชลมลุกอายุฤดูเดียว ถั่วแดงหลวงมีลักษณะเดน

               ลําตนตั้งตรง แตกกิ่งแขนงออกเปนทรงพุมเตี้ย คลายกับลําตนถั่วเหลือง สูงประมาณ 40-65 เซนติเมตร ใบเปน

               ใบประกอบ ออกเรียงกันเปนใบเดี่ยวตามขอกิ่ง แตละใบมีกานใบทรงกลม กานใบมีขอบโคงงุม และเปนรอง
               ตรงกลาง ถัดมาเปนใบยอย จํานวน 3 ใบ ใบยอยคูแรกอยูตรงขามกัน สวนอีกใบอยูตรงกลาง ใบยอยแตละใบมี

               รูปหอก มีขนาดไมเทากัน กวางประมาณ 5-10  เซนติเมตร ยาวประมาณ 8-15  เซนติเมตร โคนใบเปนฐาน
               กวาง ปลายใบแหลม แผนใบ และขอบใบเรียบ สีเขียวสด และมีขนปกคลุม แผนใบมีเสนใบหลัก 3 เสน ออก

               ดอกเปนชอ เปนดอกสมบูรณเพศที่มีเกสรตัวผูและตัวเมียในดอกเดียวกัน กลีบดอกมีสีขาว หรือสีชมพู ขึ้นกับ
               สายพันธุ แผนกลีบ และขอบกลีบยน ปลายกลีบโคงมน  ฝกคลายฝกถั่วเหลือง เปนรูปทรงกระบอก เรียวยาว

               ฝกกวางประมาณ 1.2-1.5  เซนติเมตร ยาวประมาณ 8-10  เซนติเมตร ฝกออนมีสีเขียว ฝกแกมีสีน้ําตาลออน

               หรือสีดํา (ภาพที่ 66) ภายในมีเมล็ด 3-6 เมล็ด เมล็ดออนมีสีขาว แลวคอยเปลี่ยนเปนสีเขียว และแกเต็มที่เปน
               สีแดง สีแดงเขม สีแดงชมพู ขึ้นอยูกับสายพันธุ ขนาดเมล็ดกวางประมาณ 0.4-0.5  เซนติเมตร ยาวประมาณ

               0.8-1.5  เซนติเมตร  (ภาพที่ 67)  สําหรับถั่วนิ้วนางแดง จะมีลักษณะเดน คือ ลําตนกึ่งเลื้อย ทุกสวนมีขนปก

               คลุม ดอกมีสีเหลือง ฝกมีขนาดเทากับถั่วเขียว แตยาวกวาเล็กนอย ฝกหอยลงดินแลดูคลายนิ้วคน จึงเปนชื่อ
               เรียก ถั่วนิ้วนางแดง ฝกออนมีสีเขียว ฝกแกมีสีน้ําตาลออน หรือมีสีดํา เมล็ดมีสีแดง เมล็ดมีขนาดเล็กกกวาถั่ว

               แดงหลวง ฝกที่มีสีน้ําตาลออนจะมีเมล็ดเล็กกวาฝกสีดํา (ภาพที่ 68)
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73