Page 41 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
38
ชุดดิน ระแงะ Series Ra กลุ่มชุดดินที่ 14
สภาพพื นที่ เป็นที่ลุ่มต่ าหรือพื้นที่พรุ มีความลาดชัน 0-1 %
ภูมิสัณฐาน ที่ราบชายฝั่งทะเล
วัตถุต้นก าเนิดดิน ตะกอนน้ าผสมกับตะกอนทะเล พัฒนาในสภาพน้ ากร่อย
การระบายน า เลวมาก
การซึมผ่านได้ของน า ช้า การไหลบ่าของน าบนผิวดิน ช้า
ลักษณะสมบัติของดิน เป็นดินลึก ดินบนเป็นดินร่วน มีสีด าหรือเทาที่มีอินทรียวัตถุมาก ดินล่างเป็น
ดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง สีน้ าตาลปนเทา มีจุดประสีเหลือง
และถัดลงไปที่ความลึก 50-100 เซนติเมตร มีลักษณะเป็นดินเลนสีเทาปนน้ า
เงินที่มีสารประกอบก ามะถัน (pyrite: FeS2) มาก เป็นดินเปรี้ยวจัดที่ก าลัง
มีกรดก ามะถันเกิดขึ้น (actual acid sulfate soil) ไม่พบจุดประสีเหลืองฟาง
ข้าว (jarosite mottles) ดินนี้จะเป็นกรดเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วถ้ามีการท า
ให้ดินแห้งเป็นระยะเวลานาน
ข้อจ ากัด ดินเป็นกรดจัดมาก ธาตุอะลูมิเนียม เหล็กและแมงกานีสถูกละลายออกมา
มากจนเป็นพิษต่อพืช ธาตุฟอสฟอรัสถูกตรึงพืชดูดไปใช้ไม่ได้ ดินมี
โครงสร้างแน่นทึบและมีน้ าแช่ขัง
ข้อเสนอแนะ ต้องมีการควบคุมน้ าเพื่อป้องกันการเกิดกรดของดิน มีการจัดการที่
เหมาะสมเพื่อลดความเป็นพิษของสารบางอย่าง เช่น เหล็กและซัลเฟอร์
ตลอดจนการใช้ปูนและปุ๋ย ถ้ามีแหล่งน้ าพอและสามารถป้องกันน้ าท่วมได้
อาจยกร่องเพื่อปลูกพืชล้มลุกและผลไม้บางชนิด
สมบัติทางเคมี ความลึก อินทรีย ความจุ ความอิ่มตัว ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดม
วัตถุ แลกเปลี่ยน เบส ที่เป็น ที่เป็น สมบูรณ์
(เซนติเมตร)
แคตไอออน ประโยชน์ ประโยชน์ ของดิน
0-25 ปานกลาง ปานกลาง สูง ต่ า ต่ า ต่ า
25-50 ต่ า ปานกลาง สูง ต่ า ต่ า ปานกลาง
50-100 ปานกลาง ปานกลาง สูง ต่ า ต่ า ต่ า
ภาพที่ 4 หน้าตัดดินและค าบรรยายชุดดินระแงะ