Page 40 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 40
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
37
ชุดดิน นาท่าม Series Ntm กลุ่มชุดดินที่ 34
สภาพพื นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงลูกคลื่นลอนลาด มีความลาดชัน 2-12 %
ภูมิสัณฐาน ตะพักล าน้ า
วัตถุต้นก าเนิดดิน ตะกอนน้ าพา
การระบายน า ดี
การซึมผ่านได้ของน า ปานกลางถึงเร็ว การไหลบ่าของน าบนผิวดิน เร็ว
ลักษณะสมบัติของดิน เป็นดินลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังหนาแน่น ดินบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนปน
ทรายมีสีน้ าตาล ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดจัด (pH 5.0-5.5)
ดินล่างตอนบนมีเนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีน้ าตาล มีจุดประ
สีต่าง ๆ ดินล่างในช่วงความลึก 60-100 เซนติเมตร มีเนื้อดินเป็นดินเหนียว
ปนลูกรังหรือก้อนกรวดมาก สีน้ าตาล มีจุดประสีต่าง ๆ และดินล่างสุดเป็น
ดินเหนียวหรือดินร่วนปนดินเหนียว พบศิลาแลงอ่อน (plinthite) มากกว่า
50 % โดยปริมาตรหรือต่อเนื่องกัน ภายในช่วงความลึก 150 เซนติเมตร
ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมาก (pH 4.5-5.0)
ข้อจ ากัด ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ าและเป็นดินลึกปานกลาง
ข้อเสนอแนะ ควรมีการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ และในพื้นที่ที่มีความลาดชัน ควรมีวัสดุ
ปกคลุมดิน เช่น ปลูกพืชคลุมดิน ท าคันดินหรือปลูกพืชขวางความลาดเท
เพื่อลดอัตราการสูญเสียหน้าดิน
สมบัติทางเคมี ความลึก อินทรีย ความจุ ความ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดม
วัตถุ แลกเปลี่ยน อิ่มตัวเบส ที่เป็น ที่เป็น สมบูรณ์
(เซนติเมตร)
แคตไอออน ประโยชน์ ประโยชน์ ของดิน
0-25 สูง ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า
25-50 ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า
50-100 ปานกลาง ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า ต่ า
ภาพที่ 3 หน้าตัดดินและค าบรรยายชุดดินนาท่าม