Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตรัง
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               27







                         4.3  ข้าว
                             1) พื นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่ 10,067 ไร่
                       มีพื้นที่ปลูกในเขตอ าเภอนาโยง อ าเภอเมืองตรัง และอ าเภอห้วยยอด คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดิน

                       จังหวัดสมควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่งผลิตข้าวที่ส าคัญของจังหวัด และมี
                       การบริหารจัดการน้ าชลประทาน การจัดการดิน ปุ๋ย พันธุ์ข้าว มีการรวมกลุ่มเป็นเกษตรแปลงใหญ่

                       พัฒนาต่อยอดครบวงจรด้านการตลาดในและต่างประเทศการแปรรูป แหล่งทุน มีภาครัฐสนับสนุน
                       การท ามาตรฐานสินค้าเกษตรอินทรีย์ และพัฒนาให้เกษตรกรเพาะปลูกตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี
                       (Good Agricultural Practices : GAP) และเนื่องจากเป็นพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนา

                       จะช่วยให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น และเป็นการปรับปรุงบ ารุงดิน ทั้งนี้ภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจ
                       กับเกษตรกรโดยแนะน าว่าพื้นที่นี้เป็นพื้นที่ที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกข้าวจึงไม่ควรปรับเปลี่ยนไป

                       ปลูกพืชชนิดอื่น หากข้าวราคาไม่ดีถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดพืชควรเป็นพืชไร่ เพื่อที่ว่าในอนาคตจะได้
                       กลับมาท านาได้อีก

                             2) พื นที่ปลูกข้าวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกข้าวอยู่ มีเนื้อที่
                       691 ไร่ อยู่ในเขตอ าเภอห้วยยอด อ าเภอนาโยง และอ าเภอเมืองตรัง ควรสนับสนุนด้านการบริหาร
                       จัดการน้ า เช่น ชลประทาน จะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน ปัญหาการทิ้งถิ่นฐานไป

                       ท างานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมส าหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแม่นย า
                       หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น และภาครัฐควรให้ความรู้ความเข้าใจกับเกษตรกรโดยแนะน าว่าไม่ควร
                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากข้าวราคาไม่ดีและต้องการปรับเลี่ยนการผลิตควรเป็นพืชไร่ เพื่อที่ว่า
                       ในอนาคตยังสามารถกลับมาท านาได้อีก
                             (3) พื นที่ปลูกข้าวที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้ที่ดิน

                       ปลูกข้าวอยู่ ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม โดยสนับสนุน
                       การปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มี
                       ความเหมาะสม และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเข้า

                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น
                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้
                       ใช้พื้นที่ปลูกข้าว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน เช่น ยางพาราและปาล์มน้ ามัน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูก

                       เป็นพืชไร่ หากในอนาคตข้าวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกข้าวได้เหมือนเดิม แต่หากเป็นไม้ผล
                       หรือไม้ยืนต้นการกลับมาปลูกข้าวอาจเป็นเรื่องยาก ดังนั้นอาจส่งเสริมในเรื่องของการท าเกษตร

                       รูปแบบอื่น เช่น ท าการเกษตรแบบผสมผสานทดแทน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37