Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุราษฎร์ธานี
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
360,385 2,697,136 724,811 1,454,543 5,236,875
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,212 49,137 13,016 71,120 134,485
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.34%) (1.82%) (1.80%) (4.50%) (2.51%)
359,173 2,647,999 - - 3,007,170
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(99.66%) (98.18%) - - (56.09%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมะพร้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (S3) 81,143 ไร่
โดยอำเภอที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตมะพร้าว (ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมะพร้าว
ปาล์มน้ำมัน (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม
ไชยา 2.965 - 2.965
ดอนสัก 835 - 835
ท่าฉาง 4.898 - 4.898
ท่าชนะ 5.776 - 5.776
พุนพิน 21.458 - 21.458
บ้านนาสาร 189 - 189
กาญจนดิษฐ์ 189 - 189
บ้านนาเดิม 189 - 189
เมืองสุราษฎร์ธานี 10.118 - 10.118
รวม 81.143 - 81.143
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกมะพร้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผล
ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมะพร้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถนำไปสู่การต่อยอดโครงการ
ที่สำคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นยำ เป็นต้น
พื้นที่ปลูกมะพร้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมะพร้าวในที่ดิน
ที่ไม่มีข้อจำกัดทางกายภาพต่อการปลูกมะพร้าวซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกมะพร้าวที่สำคัญของ
จังหวัด กระจายอยู่ในอำเภอดอนสัก อำเภอท่าชนะ และอำเภอไชยา เป็นต้น