Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปัตตานี
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ล าดับแรกของจังหวัดปัตตานี

                               พืชเศรษฐกิจ                   เนื้อที่ (ไร่)      ร้อยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                            1. ยางพารา                        435,488                      46.52
                            2. ข้าว                           160,781                      17.18

                            3. ทุเรียน                        112,348                      12.00
                            4. มะพร้าว                         70,802                       7.56

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ยางพารา
                               ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดปัตตานี เนื่องจากมีความอุดมสมบูรณ์ทาง
                       ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และมีสภาพภูมิประเทศที่เหมาะสมในการปลูกยางพารา อีกทั้ง

                       เกษตรกรในจังหวัดปัตตานีส่วนใหญ่ได้รับความรู้ในการพัฒนาศักยภาพด้านการผลิตและการแปรรูป
                       ยางพาราอย่างต่อเนื่อง และส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรรายเดิมที่มีการปลูกยางพารามาอย่างยาวนาน
                       จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3

                       และภาพที่ 6 - 7)

                              1)  การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                  ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 238,082 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.13
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะรัง 50,114  ไร่ อ าเภอสายบุรี 40,076 ไร่
                       และอ าเภอโคกโพธิ์ 28,402 ไร่

                                  ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 319,870 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       28.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอโคกโพธิ์ 72,933 ไร่ อ าเภอยะหริ่ง
                       51,393 ไร่ และอ าเภอสายบุรี 39,464 ไร่
                                  ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 110,351 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 9.79

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะรัง 18,273  ไร่ อ าเภอหนองจิก 16,237 ไร่
                       และอ าเภอโคกโพธิ์ 12,138 ไร่
                                  ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 458,382 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ได้ดังนี้

                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 142,854 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 60.00 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอยะรัง 30,167 ไร่ อ าเภอสายบุรี 18,504 ไร่ และอ าเภอทุ่งยางแดง 18,498 ไร่
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 133,884 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 41.86 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอโคกโพธิ์ 51,669 ไร่ อ าเภอมายอ 16,056 ไร่ และอ าเภอ
                       ยะรัง 13,934 ไร่
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17