Page 10 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนราธิวาส
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5







                           ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) การปลูกพืชให้ผลตอบแทนสูง
                           ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) การปลูกพืชให้ผลตอบแทนสูง แต่พบ

                       ข้อจ ากัดบางประการซึ่งสามารถบริหารจัดการได้
                           ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีข้อจ ากัดการของดินและน้ า ส่งผลให้การผลิต

                       พืชให้ผลตอบแทนต่ า การใช้พื้นที่ต้องใช้ต้นทุนสูงในการจัดการ และมีความเสี่ยงจากน้ าท่วมและขาดน้ า

                           ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N)
                           จังหวัดนราธิวาส มีพื้นที่พืชเศรษฐกิจส าคัญที่ปลูกมาก 4 ล าดับแรก ได้แก่ ยางพารา

                       ข้าว ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว (ตารางที่ 2)

                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ล าดับแรกของจังหวัดนราธิวาส


                                                                                        ร้อยละ
                            พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ            เนื อที่ (ไร่)
                                                                                 (ของพื นที่เกษตรกรรม)

                         1. ยางพารา                         906,137                      57.90

                         2. ข้าว                            103,810                       6.63

                         3. ปาล์มน้ ามัน                     47,650                       3.04

                         4. มะพร้าว                          22,169                       1.42

                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ยางพารา
                              ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดนราธิวาส จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก

                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื นที่ปลูกยางพารา
                                  ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 427,868 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 23.02

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอรือเสาะ 148,517 ไร่ อ าเภอศรีสาคร
                       105,799 ไร่ และอ าเภอระแงะ 53,986 ไร่

                                  ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 615,035 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       33.09 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอแว้ง 117,603 ไร่  อ าเภอระแงะ

                       102,431 ไร่ และอ าเภอสุไหงปาดี 88,822 ไร่

                                  ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 172,495 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       9.28 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอสุคิริน 35,113 ไร่ อ าเภอเมืองนราธิวาส

                       15,468 ไร่ และอ าเภอสุไหงปาดี 13,761 ไร่
                                  ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 643,402 ไร่
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15