Page 15 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนราธิวาส
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               10







                       ตารางที่ 4  พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา

                                                  ข้าว (ไร่)                       มะพร้าว (ไร่)
                        อ าเภอ
                                         S3          N         รวม          S3          N         รวม
                        จะแนะ               441         52         493         10               -      10
                        เจาะไอร้อง          239           -        239              -      14         14

                        ตากใบ               558        724       1,282       4,213              -      4,213
                        บาเจาะ            1,875       1,355      3,230        639           2        641
                        เมืองนราธิวาส       508        190         698       2,625              -      2,625
                        ยี่งอ               774           -        774          6           1           7

                        ระแงะ             1,997         46       2,043            -          -           -
                        รือเสาะ           5,237        224       5,461            -          -           -
                        แว้ง                622        139         761            -          -           -

                        ศรีสาคร             852        189       1,041            -          -           -
                        สุคิริน              26          9          35              -       1           1
                        สุไหงโก-ลก            7           -          7            -          -           -

                        สุไหงปาดี           359           -        359            -          -           -
                            รวม          13,495      2,928      16,423       7,493         18       7,511

                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร

                       ปลูกยางพาราต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี
                       คุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญ

                       ต่าง ๆ ได้ เช่น ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือ พื้นที่ปลูกยางพาราใน

                       ที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกยางพาราที่ส าคัญ

                       ของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอรือเสาะ อ าเภอศรีสาคร อ าเภอระแงะ เป็นต้น
                                     พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก

                       ยางพาราในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน

                       ความเป็นกรดเป็นด่าง และแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอแว้ง อ าเภอระแงะ อ าเภอสุไหงปาดี
                       เป็นต้น

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้

                       เข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เช่น ท าการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่า
                       โดยพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20