Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปราจีนบุรี
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26








                       เหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ท าให้ใช้ต้นทุนการผลิตต่ าและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้
                       เกษตรกรต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
                            4.3  อ้อยโรงงาน

                                 1)  พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกอ้อยโรงงาน
                       อยู่มีเนื้อที่ 768 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอกบินทร์บุรี และอ าเภอศรีมหาโพธิ ตามล าดับ ทั้งนี้

                       โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นแหล่ง
                       ผลิตอ้อยโรงงานคุณภาพดีที่ส าคัญของจังหวัด ควรมีการจัดการดิน ปุ๋ย พันธุ์อ้อยโรงงานคุณภาพดี

                       โดยรวมกลุ่มเป็นระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พัฒนาต่อยอดครบวงจรการตลาดในและ
                       ต่างประเทศ การแปรรูป แหล่งทุน มีภาครัฐสนับสนุนการท ามาตรฐานสินค้า เกษตรอินทรีย์ และ

                       การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)

                                 2)  พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกอ้อย
                       โรงงานอยู่ มีเนื้อที่ 16,900 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอกบินทร์บุรี อ าเภอนาดี และอ าเภอ

                       ศรีมหาโพธิ เกษตรกรยังคงปลูกอ้อยโรงงานได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาขาดน้ าในบางช่วงของ
                       การเพาะปลูก การสนับสนุนด้านการชลประทาน จะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน
                       ปัญหาการทิ้งถิ่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมส าหรับการเกษตรแบบผสมผสาน หรือ

                       เกษตรทฤษฎีใหม่

                                 3)  พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใช้ที่ดินปลูกอ้อยโรงงานอยู่ มีเนื้อที่ 64,236 ไร่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น

                       น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้
                       โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่

                       ที่มีความเหมาะสม เป็นการสร้างรายได้ และผลิตอาหารเพื่อบริโภค

                                 4)  พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกอ้อยโรงงาน แต่ปัจจุบัน

                       เกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ปาล์มน้ ามัน ไม้ผล ไม้ยืนต้น
                       มันส าปะหลัง หรือพืชไร่อื่น ๆ ควรสร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และ
                       การปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรม หากเกษตรกรต้องการกลับมาใช้พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานเหมือนเดิม

                       จะได้ไม่ต้องมีต้นทุนการผลิตสูงในการปรับปรุงบ ารุงดิน ทั้งนี้เกษตรกรต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                            4.4 ยางพารา
                                1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกยางพาราอยู่

                       มีเนื้อที่ 715 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตกบินทร์บุรี อ าเภอประจันตคาม และอ าเภอศรีมโหสถ
                       ตามล าดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อ

                       สงวนให้เป็นแหล่งปลูกยางพาราคุณภาพดีที่ส าคัญของจังหวัด ควรมีการจัดการดิน ปุ๋ย พันธุ์คุณภาพดี
                       โดยรวมกลุ่มเป็นระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พัฒนาต่อยอดครบวงจรการตลาดในและ
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38