Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดปราจีนบุรี
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19








                            2.4  ยางพารา
                                 ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดปราจีนบุรีในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผน
                       ที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 – 13)
                                 1)  การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 84,498 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.88
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 29,215 ไร่ อ าเภอประจันตคาม
                       20,507 ไร่ และอ าเภอศรีมหาโพธิ 18,270 ไร่
                                     ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 416,433 ไร่ คิดเป็น

                       ร้อยละ 19.13 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 174,520 ไร่ อ าเภอ
                       นาดี 135,895 ไร่ และอ าเภอเมืองปราจีนบุรี 66,895 ไร่
                                     ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 419,260 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       19.26 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 308,004 ไร่ อ าเภอ

                       ศรีมหาโพธิ 60,931 ไร่ และอ าเภอศรีมโหสถ 18,502 ไร่
                                     ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,256,495 ไร่
                                 2)  การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของ

                       ที่ดิน ได้ดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 715 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.85 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 396 ไร่ อ าเภอประจันตคาม 153 ไร่ และอ าเภอศรีมโหสถ
                       86 ไร่
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 48,329 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.61 ของ

                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 24,367 ไร่ อ าเภอนาดี 22,406 ไร่
                       และอ าเภอศรีมหาโพธิ 834 ไร่
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 7,030 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.68 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 5,512 ไร่ อ าเภอนาดี 809 ไร่ และอ าเภอ
                       ศรีมหาโพธิ 556 ไร่
                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 61,820 ไร่
                                 3)  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่

                       ปลูกพิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดปราจีนบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 451,887 ไร่ โดยกระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดย
                       อ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอกบินทร์บุรี 178,972 ไร่ รองลงมาได้แก่

                       อ าเภอนาดี 116,158 ไร่ อ าเภอเมืองปราจีนบุรี 76,929 ไร่ อ าเภอประจันตคาม 57,422 ไร่ อ าเภอ
                       ศรีมหาโพธิ 19,031 ไร่ และอ าเภอศรีมโหสถ 3,374 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 83,783 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 99.15 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอกบินทร์บุรี 28,819 ไร่ อ าเภอประจันตคาม 20,354 ไร่

                       และศรีมหาโพธิ 18,252 ไร่
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31