Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดตราด
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                6








                            2.1  ยางพารา
                                 ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจหลักที่ปลูกมากที่สุดของจังหวัดตราด ซึ่งมีพื้นที่ปลูก 449,064

                       ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 45.91 ของพื้นที่เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจทั้งหมด จากฐานข้อมูล
                       ในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                                 1)  การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 25,086 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.02 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 13,320 ไร่ อ าเภอเขาสมิง 10,598 ไร่
                       และอ าเภอบ่อไร่ 963 ไร่
                                     ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 471,060 ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       37.89 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 178,119 ไร่ อ าเภอ
                       เขาสมิง 174,200 ไร่ และอ าเภอบ่อไร่ 70,669 ไร่
                                     ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 300,037 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       24.13 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเขาสมิง 118,013 ไร่ อ าเภอเมือง

                       ตราด 77,506 ไร่ และอ าเภอบ่อไร่ 74,325 ไร่
                                    ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 447,030 ไร่
                                 2)  การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ได้ดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 8,829 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 35.19 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 6,765 ไร่ อ าเภอเขาสมิง 1,576 ไร่ และอ าเภอ
                       บ่อไร่ 437 ไร่

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 339,330 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 72.04 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 131,519 ไร่ อ าเภอเขาสมิง
                       114,868 ไร่ และอ าเภอบ่อไร่ 52,691 ไร่
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 74,526 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 24.84 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายตัวมากอยู่ในอ าเภอเมืองตราด 26,890 ไร่ อ าเภอเขาสมิง 21,906 ไร่ และ

                       อ าเภอบ่อไร่ 17,394 ไร่
                                     (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 26,379 ไร่
                                 3)  พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่

                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้น
                       ความเหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดตราดมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสม
                       สูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 147,987 ไร่ โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพ
                       คงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอเขาสมิง 68,354 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ าเภอเมืองตราด 53,155 ไร่

                       อ าเภอบ่อไร่ 18,504 ไร่ อ าเภอแหลมงอบ 7,126 ไร่ อ าเภอคลองใหญ่ 795 ไร่ และอ าเภอเกาะกูด
                       53 ไร่
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18