Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22








                       ตารางที่ 7 (ต่อ)


                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                        อ าเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1         S2        S3         N         รวม

                                                                                         106,632   106,632
                                พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน        -          -         -
                                                                                       (100.00%)  (100.00%)

                         อุทัย   พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     -          -         -          -         -
                                เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)

                                พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ        -          -         -          -         -
                                                                                       1,592,214  1,592,214
                                พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน        -          -         -
                                                                                       (100.00%)  (100.00%)
                        รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ                                   227       227
                        จังหวัด   เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)     -          -         -    (0.01%)  (0.01%)

                                พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ        -          -         -          -         -


                                   ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1)  และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช

                       ตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                                      เมื่อวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าศักยภาพของที่ดินในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ไม่มีความ
                       เหมาะสมในการปลูกปาล์มน้ ามัน (ตารางที่ 8)

                             4) แนวทางการจัดการ

                               จากการวิเคราะห์ศักยภาพของที่ดินในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา พบว่า ไม่มีความ
                       เหมาะสมในการปลูกปาล์มน้ ามัน จึงไม่แนะน าให้มีการส่งเสริมการปลูกเพิ่ม เพราะจะประสบปัญหา
                       ราคาผลผลิตต่ ากว่าต้นทุน ในพื้นที่ปลูกปัจจุบันนั้นควรสนับสนุนให้เกษตรกรปรับปรุงคุณภาพดิน เพื่อ
                       เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต


                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                              ในภาวะเศรษฐกิจถดถอย พืชผลทางการเกษตรราคาตก ข้าวเป็นพืชที่ได้รับผลกระทบมาก
                       ดังนั้น เกษตรกรในจังหวัดพระนครศรีอยุธยาควรปรับเปลี่ยนการปลูกพืชที่ตลาดมีความต้องการ ดังนี้
                              1) ละมุดบ้านใหม่ เป็นพืชที่ได้รับความนิยมและมีชื่อเสียงของจังหวัด และได้ประกาศขึ้น

                       ทะเบียนสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หรือ Geographical Indications : GI เป็นละมุดพันธุ์มะกอก
                       ที่มีทรงผลกลมรี ลูกเล็กคล้ายผลมะกอก ผิวเปลือกบาง สีน้ าตาลเข้ม เนื้อแน่นละเอียด กรอบ รสชาติ
                       หวาน และมีกลิ่นหอม ซึ่งปลูกในพื้นที่ต าบลบ้านใหม่ ต าบลท่าตอ และต าบลบ้านขวาง
                       อ าเภอมหาราช จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34