Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15







                       ตารางที่ 5 (ต่อ)


                                                                      เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
                          อำเภอ         ประเภทพื้นที่
                                                           S1        S2        S3         N        รวม

                                                            4,891     8,934    34,148    490,738   538,711
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ    159     250     4,298     27,706   32,413
                           หัวหิน
                                    เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)   (3.25%)   (2.80%)   (12.59%)    (5.64%)   (6.02%)

                                                            4,732     8,684                         13,416
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                         -         -
                                                         (96.75%)  (97.20%)                        (2.49%)

                                                          229,285   707,391   228,452  1,286,737  2,451,865
                                    พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                        (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                    พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ  38,273   106,065   37,826   75,551   257,715
                        รวมทั้งจังหวัด
                                    เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง)  (16.69%)  (15.00%)  (16.56%)   (5.87%)  (10.51%)

                                                          191,012   601,326                        792,338
                                    พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                         -         -
                                                         (83.31%)  (85.01%)                       (32.32%)

                                 ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้นเนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน มีความเสี่ยงต่ำ ผลผลิตดี จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว

                                 เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
                       ส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (S3+N)

                       101,157 ไร่  และบริเวณที่ปลูกข้าว (S3+N) 37,720 ไร่ (ตารางที่ 6)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27