Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดนครปฐม
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               16








                         2.4 ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                              ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของนครปฐมในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                              1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พบเพียงพื้นที่ที่มีความเหมาะสม

                       สูง (S1) เหมาะสมปานกลาง (S2) และไม่เหมาะสม (N) โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 217,810 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       20.74 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอสามพราน 95,425 ไร่ อ าเภอนครชัยศรี

                       77,647 ไร่ อ าเภอบางเลน 17,897 ไร่ อ าเภอเมืองนครปฐม 13,885 ไร่ อ าเภอดอนตูม 10,322 ไร่ และ
                       อ าเภอพุทธมณฑล 2,634 ไร่
                                     ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 327,683 ไร่ คิดเป็น
                       ร้อยละ 31.21 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอก าแพงแสน 186,988 ไร่ อ าเภอ

                       เมืองนครปฐม 121,770 ไร่ อ าเภอดอนตูม 17,979 ไร่ และอ าเภอนครชัยศรี 946 ไร่
                                     ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 504,485 ไร่
                              2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดินได้ดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,719 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.52 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายอยู่ในอ าเภอก าแพงแสน 1,472 ไร่ และอ าเภอเมืองนครปฐม 247 ไร่
                                     (2) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 132 ไร่
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์แต่ยังไม่ใช้

                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และพื้นที่ปลูก
                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในชั้นความเหมาะสมต่างๆ (ปลูกจริง) พบว่า จังหวัดนครปฐมมีพื้นที่ศักยภาพ
                       คงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 543,775 ไร่

                       โดยกระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ได้แก่ อ าเภอก าแพงแสน
                       185,516 ไร่ รองลงมา ได้แก่ อ าเภอเมืองนครปฐม 135,409 ไร่ อ าเภอสามพราน 95,425 ไร่ อ าเภอ
                       นครชัยศรี 78,593 ไร่ อ าเภอดอนตูม 28,301 ไร่ อ าเภอบางเลน 17,897 ไร่ และอ าเภอพุทธมณฑล
                       2,634 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 217,810 ไร่ โดยเป็นพื้นที่ทั้งหมดของ

                       พื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีศักยภาพสูง กระจายอยู่ในอ าเภอสามพราน 95,425 ไร่ อ าเภอนครชัยศรี
                       77,647  ไร่  อ าเภอบางเลน 17,897 ไร่  อ าเภอเมืองนครปฐม  13,885  ไร่ อ าเภอดอนตูม 10,322 ไร่
                       และอ าเภอพุทธมณฑล 2,634 ไร่

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 325,965 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 99.48
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยู่ในอ าเภอก าแพงแสน 185,516 ไร่ อ าเภอเมืองนครปฐม
                       121,524 ไร่ อ าเภอดอนตูม 17,979 ไร่ และอ าเภอนครชัยศรี 946 ไร่
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28