Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24







                               ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
                       พืชตรงตามศักยภาพของดิน ลงทุนต่ าก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
                               เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร

                       พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันส าปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 295,913
                       ไร่ และพื้นที่ปลูกปาล์มน้ ามัน (N) 11,088 ไร่ รายละเอียดดังตารางที่ 8

                       ตารางที่ 8  พื้นที่มีศักยภาพในการขยายการผลิตมันส าปะหลัง

                                                    ข้าว                            ปาล์มน้ ามัน
                           อ าเภอ
                                         S3          N          รวม         S3          N         รวม

                        กุดจับ           19,896           -     19,896           -        889         889
                        กุมภวาปี         25,232       3,624     28,856           -       1,177      1,177
                        กู่แก้ว           5,441       1,888       7,329          -        637         637

                        ไชยวาน           22,642       5,454     28,096           -        700         700
                        นายูง             1,693       1,575       3,268          -        104         104
                        น้ าโสม           8,556       4,065     12,621           -        439         439

                        โนนสะอาด         25,036           -     25,036           -        427         427
                        บ้านผือ          25,810         71      25,881           -       1,063      1,063
                        ประจักษ์            594           -        594           -         30          30

                        เมืองอุดรธานี    20,015       1,647     21,662           -        569         569
                        วังสามหมอ        38,047       3,374     41,421           -        702         702
                        ศรีธาตุ          29,448      16,533     45,981           -       1,953      1,953

                        หนองวัวซอ        16,610         30      16,640           -       1,915      1,915
                        หนองแสง           9,323        348        9,671          -        177         177
                        หนองหาน           8,961           -       8,961          -        306         306
                            รวม         257,304      38,609    295,913           -     11,088      11,088


                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้

                       เกษตรกรปลูกมันส าปะหลังต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิต
                       และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันส าปะหลังในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอด
                       โครงการที่ส าคัญต่างๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า
                       เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก

                       มันส าปะหลังในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกมันส าปะหลัง ซึ่งควรสงวนไว้เป็น
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36