Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25







                       แหล่งปลูกมันส าปะหลังที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอวังสามหมอ อ าเภอโนนสะอาด
                       และอ าเภอน้ าโสม เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่
                       ปลูกมันส าปะหลังในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมันส าปะหลัง เช่น ความ

                       อุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอศรีธาตุ อ าเภอกุมภวาปี
                       และอ าเภอบ้านผือ เป็นต้น
                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
                       ให้เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกมันส าปะหลัง

                       มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
                           2.4  ยางพารา
                               ยางพาราพืชเศรษฐกิจหลักของอุดรธานีในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 ถึง 13)

                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 37,152 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.62 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอนายูง 31,416 ไร่ อ าเภอวังสามหมอ 3,508 ไร่ และอ าเภอ

                       เพ็ญ 1,292 ไร่
                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 3,038,860 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       50.86 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 350,520 ไร่ อ าเภอเมืองอุดรธานี
                       295,954 ไร่ และอ าเภอกุมภวาปี 283,031 ไร่
                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 169,480 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.84

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 48,227 ไร่ อ าเภอบ้านดุง 29,886 ไร่ และ
                       อ าเภอเพ็ญ 21,935 ไร่
                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,728,793 ไร่

                               2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกยางพาราในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของ
                       ที่ดิน ได้ดังนี้
                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 22,275 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 59.96 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายอยู่ในอ าเภอนายูง 21,640 ไร่ และอ าเภอวังสามหมอ 635 ไร่

                                 (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 265,807 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.75 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยู่ในอ าเภอน้ าโสม 64,946 ไร่ อ าเภอบ้านผือ 61,824 ไร่ และอ าเภอ
                       วังสามหมอ 50,270 ไร่
                                 (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 52,146 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 30.77 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านดุง 28,818 ไร่ อ าเภอน้ าโสม 8,060 ไร่ และอ าเภอนายูง
                       7,888 ไร่
                                 (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 34,234 ไร่
                               3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแต่ไม่ใช้พื้นที่

                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราใน
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37