Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               19







                               4) แนวทางการจัดการ
                                 (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
                       เกษตรกรปลูกอ้อยโรงงานต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผล
                       ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่

                       ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
                       ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงาน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกอ้อยโรงงาน

                       ที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่อ าเภอบ้านผือ อ าเภอบ้านดุง  และอ าเภอหนองหาน เป็นต้น
                                 พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกอ้อยโรงงาน เช่น ความอุดมสมบูรณ์
                       ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ อ าเภอกุมภวาปี และอ าเภอ

                       วังสามหมอ เป็นต้น
                                 (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
                       เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกอ้อยโรงงาน มีต้นทุนที่
                       ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย

                           2.3  มันส าปะหลัง
                               มันส าปะหลังพืชเศรษฐกิจหลักของอุดรธานีในล าดับที่ 3 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิง
                       รุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 ถึง 11)
                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง

                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 426,179 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.13
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอโนนสะอาด 113,723 ไร่ อ าเภอวังสามหมอ 91,343 ไร่
                       และอ าเภอกุมภวาปี 83,518 ไร่

                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,935,268 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       32.39 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอศรีธาตุ 271,124 ไร่ อ าเภอบ้านผือ 254,367 ไร่
                       และอ าเภอเมืองอุดรธานี 208,156 ไร่
                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 438,923 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 7.35
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านผือ 132,610 ไร่ อ าเภอบ้านดุง 73,589 ไร่ และ

                       อ าเภอนายูง 47,908 ไร่
                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 3,173,866 ไร่
                               2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกมันส าปะหลังในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ได้ดังนี้

                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 52,984 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.43 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายอยู่ในอ าเภอวังสามหมอ 13,968 ไร่ อ าเภอโนนสะอาด 11,358 ไร่ และอ าเภอน้ า
                       โสม 9,925 ไร่
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31