Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุดรธานี
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                6







                      ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ล าดับแรกของจังหวัดอุดรธานี

                                                                                        ร้อยละ
                           พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ            เนื้อที่ (ไร่)
                                                                                 (ของพื้นที่เกษตรกรรม)
                        1. ข้าว                            1,893,380                     37.26

                        2. อ้อยโรงงาน                      1,214,744                     23.91
                        3. มันส าปะหลัง                     574,221                      11.30
                        4. ยางพารา                          534,730                      10.52
                        ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                           2.1  ข้าว
                               ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดอุดรธานี จากสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม
                       มีความเหมาะสมในการปลูกข้าว จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online

                       วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 ถึง 7)
                               1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกข้าว
                                 ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 282,153 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.72
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอเมืองอุดรธานี 43,181 ไร่ อ าเภอกุดจับ 38,586 ไร่

                       และอ าเภอเพ็ญ 34,579 ไร่
                                 ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 2,319,600 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       38.84 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอเพ็ญ 440,801 ไร่ อ าเภอบ้านดุง 418,052 ไร่
                       และอ าเภอเมืองอุดรธานี 328,726 ไร่

                                 ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 733,195 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 12.28
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายอยู่ในอ าเภอเมืองอุดรธานี 103,664 ไร่ อ าเภอเพ็ญ 66,414 ไร่
                       และอ าเภอน้ าโสม 61,463 ไร่
                                 ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,637,070 ไร่

                               2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกข้าวในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ได้
                       ดังนี้
                                 (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 177,546 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 62.93 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายอยู่ในอ าเภอเมืองอุดรธานี 40,770 ไร่ อ าเภอกุดจับ 29,531 ไร่ และอ าเภอเพ็ญ 25,857

                       ไร่
                                 (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,128,012 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 48.63
                       ของพื้นที่ศักยภาพปานกลาง กระจายอยู่ในอ าเภอบ้านดุง 195,124 ไร่ อ าเภอเพ็ญ 174,189 ไร่ และ
                       อ าเภอหนองหาน 158,399 ไร่

                                 (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 538,48 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 73.44 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กน้อย กระจายอยู่ในอ าเภอเมืองอุดรธานี 72,248 ไร่ อ าเภอเพ็ญ 53,660 ไร่ และอ าเภอ
                       บ้านดุง 41,578 ไร่

                                 (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 49,042 ไร่
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18