Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอำนาจเจริญ
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                         4.3  อ้อยโรงงาน
                             1)  พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกอ้อยโรงงานอยู่

                       มีเนื้อที่ 99 ไร่ มีพื้นที่ปลูกในเขตอ าเภอหัวตะพาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ อ าเภอพนา ควรมีการจัดการ
                       ดิน ปุ๋ย พันธุ์อ้อยโรงงานคุณภาพดี โดยรวมกลุ่มเป็นระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พัฒนาต่อ
                       ยอดครบวงจรการตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งเสริมการแปรรูป ตลอดจนสนับสนุนการท า

                       มาตรฐานสินค้า เกษตรอินทรีย์ และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) จากภาครัฐ

                             2)  พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกอ้อย
                       โรงงานอยู่ มีเนื้อที่ 53,962 ไร่ กระจายตัวอยู่ในอ าเภอชานุมาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ อ าเภอ
                       เสนางคนิคมเกษตรกรยังคงปลูกอ้อยโรงงานได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาขาดน้ าในบางช่วงของการ
                       เพาะปลูกการสนับสนุนด้านการชลประทาน สร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน

                             3)  พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานในพื นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกร

                       ยังคงใช้ที่ดินปลูกอ้อยโรงงานอยู่ พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า
                       กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการ
                       ปรับโครงสร้างที่ดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม เป็นการ

                       สร้างรายได้ และผลิตอาหารเพื่อบริโภค
                             4)  พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกอ้อยโรงงาน แต่ปัจจุบัน

                       เกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
                       มันส าปะหลัง ยางพารา เป็นต้น ทั้งนี้ในกรณีที่เกษตรกรปลูกมันส าปะหลัง ภาครัฐควรให้ความรู้
                       แก่เกษตรกรและสร้างแรงจูงใจในการปลูกอ้อยโรงงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการ

                       บริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบ ารุงดิน เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ท าให้ใช้ต้นทุนการผลิต
                       ต่ าและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37