Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอำนาจเจริญ
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
24
4.2 มันส าปะหลัง
1) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลังอยู่
มีเนื้อที่ 4,990 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอชานุมาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ และอ าเภอ
เสนางคนิคม ตามล าดับ ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดิน
เพื่อสงวนให้เป็นแหล่งผลิตมันส าปะหลังคุณภาพดีที่ส าคัญของจังหวัด ควรมีการจัดการดิน ปุ๋ย
พันธุ์คุณภาพดี โดยรวมกลุ่มเป็นระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พัฒนาต่อยอดครบวงจร
การตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ
2) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูก
มันส าปะหลังอยู่ มีเนื้อที่ 107,246 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอเมืองชานุมาน อ าเภอเมืองอ านาจเจริญ
อ าเภอปทุมราชวงศา และกระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ เกษตรกรยังคงปลูกมันส าปะหลังได้ผลดี หลายแห่ง
ประสบปัญหาโครงสร้างของดินหรือดินดาน การสนับสนุนอินทรียวัตถุหรือการไถระเบิดดาน จะสร้าง
ความมั่นใจให้กับเกษตรกรในการใช้ที่ดิน
3) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังในพื นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบัน
เกษตรกรยังคงใช้ที่ดินปลูกมันส าปะหลังอยู่ ดินขาดความอุดนสมบรูณ์ ประกอบกับการใช้ดินอย่าง
ยาวนานไม่มีการพักดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดย
สนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความ
เหมาะสม เป็นการสร้างรายได้ และผลิตอาหารเพื่อบริโภค
4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกมันส าปะหลัง แต่ปัจจุบัน
เกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น อ้อยโรงงาน ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์ ยางพารา เป็นต้น ภาครัฐควรให้ความรู้แก่เกษตรกรและสร้างแรงจูงใจให้กลับมาปลูกมัน
ส าปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ท าให้ใช้ต้นทุนการผลิตต่ าและผลผลิตมีคุณภาพดี
ทั้งนี้เกษตรกรต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย