Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดศรีสะเกษ
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12







                       4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี

                       ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่สำคัญตางๆ ได เชน
                       เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
                       ขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สำคัญของจังหวัด โดย

                       กระจายอยูในอำเภอราศีไศล อำเภอขุขันธ อำเภอภูสิงห เปนตน
                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี

                       ขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       และแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอขุขันธ อำเภอราศีไศล อำเภอเมืองศรีสะเกษ เปนตน
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทำการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดย
                       พิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.2  ยางพารา

                               ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจหลักของศรีสะเกษในลำดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 ถึง 9)

                                    1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูก
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 242,009 ไร คิดเปนรอยละ 4.89 ของพื้นที่
                       ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 75,389 ไร อำเภอขุนหาญ 66,596 ไร และอำเภอ
                       กันทรารมย 32,935 ไร เปนตน

                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 2,056,392 ไร คิดเปนรอยละ 41.63
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 311,222 ไร อำเภอกันทรารมย 256,695 ไร
                       และอำเภอขุนหาญ 163,764 ไร เปนตน
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 223,689  ไร คิดเปนรอยละ 4.52 ของพื้นที่

                       ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 103,875 ไร อำเภอศรีรัตะ 37,026 ไร และอำเภอขุนหาญ
                       25,632 ไร เปนตน
                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 2,417,362 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 88,836 ไร คิดเปนรอยละ 36.71 ของพื้นที่เหมาะสมสูง
                       พบมากอยูในอำเภอกันทรลักษ 40,519 ไร อำเภอขุนหาญ 38,414 ไร และอำเภอศรีรัตนะ 2,690 ไร
                       เปนตน
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24