Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2







                       น้ําตาล มีจุดประสีตาง ๆ การระบายน้ําคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินหางดง (Hd) ชุดดินพาน (Ph)
                       เปนตน
                               (2) ตะพักลําน้ําระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน

                       ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล เหลือง น้ําตาลปนแดง
                       ไปจนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินสันปาตอง (Sp) ชุดดินแมแตง (Mt) เปนตน
                               (3) เนินตะกอนน้ําพารูปพัด (Alluvial fan) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบ
                       ถึงลูกคลื่นลอนลาด เปนดินลึกมาก เนื้อดินเปนดินรวนละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีน้ําตาล

                       เหลืองจนถึงแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินหางฉัตร (Hc)
                             3) ที่ลาดเชิงเขา (Piedmont) เขา (Hill) ภูเขา (Mountain) มีสภาพพื้นที่เปนลูกคลื่น
                       ลอนลาดถึงเนินเขา ที่เกิดจากการที่หินผุพังสลายตัวอยูกับที่หรือถูกเคลื่อนยายโดยแรงโนมถวงของ
                       โลกในระยะทางใกลๆ และถูกควบคุมดวยลักษณะของโครงสรางทางธรณีวิทยา สวนใหญพบหิน

                       ปะปนในหนาตัดดินและลอยหนา แบงตามลักษณะและชนิดของหินดังนี้
                               (1) พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อหยาบหรือหินในกลุม สวนใหญเปน
                       หินทรายและหินควอรตไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินรวน

                       หยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง น้ําตาลปนแดงจนถึงแดง
                       การระบายน้ําดี พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินทายาง (Ty) ชุดดิน
                       ลาดหญา (Ly) เปนตน
                               (2)  พัฒนาจากกลุมหินตะกอนหรือหินแปรเนื้อละเอียดหรือหินในกลุม สวนใหญเปน
                       หินดินดานและหินฟลไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกปานกลาง เนื้อดินเปนดินเหนียว

                       ละเอียดถึงดินเหนียวปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดง และน้ําตาลปนเหลือง การระบาย
                       น้ําดี พบเศษหินปะปนในหนาตัดดินหรือบนผิวดิน เชน ชุดดินวังสะพุง (Ws) ชุดดินลี้ (Li) เปนตน
                               (3) พัฒนาจากกลุมหินอัคนีหรือหินในกลุม ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปน

                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีแดง น้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดิน
                       ทาลี่ (Tl)
                               (4)  พัฒนาจากหินอัคนีชนิดหินแกรนิต ดินตื้นถึงชั้นเศษหินหรือหินพื้นถึงดินลึกมาก
                       เนื้อดินเปนดินรวนหยาบถึงดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ําตาล น้ําตาลปนแดงถึงแดง การระบาย

                       น้ําดี เชน ชุดดินหนองมด (Nm) ชุดดินเชียงแสน (Se) เปนตน
                               (5) พัฒนาจากหินไรโอไลต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก
                       สีน้ําตาล น้ําตาลปนเหลือง และน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินไพศาลี (Phi)
                               (6) พัฒนาจากหินบะซอลต/แอนดิไซต ดินตื้นถึงชั้นเศษหิน เนื้อดินเปนดินเหนียวปน

                       ชิ้นสวนหยาบมาก สีแดงเขมและแดงปนน้ําตาลเขม การระบายน้ําดี อาทิ ชุดดินเชียงของ (Cg)
                             4) พื้นที่ลาดชันเชิงซอน เปนพื้นที่ที่มีความลาดชันมากกวารอยละ 35 สวนใหญเปนภูเขา
                       เทือกเขาสูงสลับซับซอน ทรัพยากรดินมีความแตกตางกันออกไปในแตละพื้นที่

                                       ซึ่งไดแสดงรายละเอียดของชุดดินที่พบมากของจังหวัดเชียงรายในภาพที่ 1 - 5
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14