Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                1







                       1. ขอมูลทั่วไป


                         จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,298,981 ไร ตั้งอยูในภาคเหนือของ
                       ประเทศไทย ประกอบดวย 18 อําเภอ 124 ตําบล (ตารางผนวกที่ 1) มีจํานวนประชากร
                       1,295,026 คน (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                             ทิศเหนือ       ติดตอ สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา และสาธารณรัฐประชาธิปไตย

                                                           ประชาชนลาว
                             ทิศใต      ติดตอ จังหวัดพะเยา และจังหวัดลําปาง
                             ทิศตะวันออก ติดตอ  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
                             ทิศตะวันตก   ติดตอ จังหวัดเชียงใหม และสาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมา


                         1.2  ภูมิประเทศ
                             สภาพภูมิประเทศของจังหวัดเชียงราย มีลักษณะเปนเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือของ
                       ประเทศมีความสูงจากระดับทะเลปานกลางเฉลี่ย 1,500 - 2,000 เมตร มีพื้นราบเปนหยอมๆ ในเขต
                       อําเภอแมสรวย เวียงปาเปา และเชียงของ ไดแก ที่ราบลุมแมน้ําอิง อยูตอนใตของอําเภอเชียงของ

                         1.3  ภูมิอากาศ

                             สภาพภูมิอากาศของจังหวัดเชียงราย ไดรับอิทธิพลมรสุมตะวันตกเฉียงใต และลมมรสุม
                       ตะวันออกเฉียงเหนือ มี 3 ฤดู คือ ฤดูรอน ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดู
                       ฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมฤดูหนาวอยูในชวงกลางเดือนตุลาคมถึง
                       กลางเดือนกุมภาพันธ อุณหภูมิในแตละฤดูแตกตางกันมาก อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 31.1 องศาเซลเซียส

                       และอุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 6.8 องศาเซลเซียส

                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดเชียงราย แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุตน
                       กําเนิดดิน ไดดังนี้
                             1) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝนหรือหนาน้ํา มักมี

                       น้ําทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น
                       หลังน้ําทวม ไดแก สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝง
                       แมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา ดินลึก เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง
                       การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี อาทิ ชุดดินเชียงใหม (Cm)

                                   2) ที่ราบตะกอนน้ําพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ําหรือลําน้ํา
                       สาขา วัตถุตนกําเนิดดินเปนตะกอนน้ําพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ํา
                       แตละฝงอาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
                               (1) ตะพักลําน้ําระดับต่ํา (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก

                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียด ดินทรายแปงละเอียดหรือดินรวนหยาบ สีเทา น้ําตาลปนเทา และ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13