Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5







                       ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดเชียงราย

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                        1,321,419                     35.37
                             2. ขาวโพดเลี้ยงสัตว            232,683                      6.23

                             3. ยางพารา                       184,923                      4.95
                             4. ลําไย                         119,388                      3.20
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1    ขาว

                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเชียงรายที่มีการปลูกมากที่สุด จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว
                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,049,904 ไร คิดเปนรอยละ 34.38
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 147,555 ไร อําเภอพาน 125,119

                       ไร และอําเภอเชียงของ 112,529 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 403,706 ไร คิดเปนรอยละ
                       13.22 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเทิง 64,427 ไร อําเภอพาน 59,636
                       ไร และอําเภอปาแดด 51,214 ไร

                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 21,130 ไร คิดเปนรอยละ 0.69
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเวียงชัย 3,213 ไร อําเภอเวียงปาเปา 2,562 ไร
                       และอําเภอเทิง 2,157 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,579,349 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้

                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 846,779 ไร คิดเปนรอยละ 80.65 ของพื้นที่ศักยภาพ
                       สูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 110,985 ไร อําเภอเชียงของ 99,200 ไร และอําเภอพาน
                       94,223 ไร

                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 343,536 ไร คิดเปนรอยละ 85.10 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเทิง 64,077 ไร อําเภอพาน 56,305 ไร และอําเภอปา
                       แดด 51,088 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 21,130 ไร คิดเปนรอยละ 100.00 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเวียงชัย 3,213 ไร อําเภอเวียงปาเปา 2,562 ไร และ

                       อําเภอเทิง 2,157 ไร
                                   (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 109,974 ไร

                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17