Page 22 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 22

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               15







                       ตารางที่ 5 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3         N        รวม

                                                           9,866     33,484    16,652    49,397    109,399
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   737      2,573     1,797     7,011     12,118
                       เวียงเชียงรุง
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (7.47%)   (7.68%)  (10.79%)  (14.19%)  (11.08%)
                                                           9,129     30,911                         40,040
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (92.53%)  (92.32%)                        (36.60%)
                                                                     32,171    14,091    63,904    110,166
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน       -
                                                                  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ            7,418     4,888     6,802     19,108
                       เวียงปาเปา                            -
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)          (23.06%)  (34.69%)  (10.64%)  (17.34%)
                                                                     24,753                         24,753
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ       -                    -         -
                                                                   (76.94%)                       (22.47%)
                                                          232,872  346,551  318,388  1,791,325  2,689,136
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   64,369   47,696   34,833   85,785  232,683
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (27.64%)  (13.76%)  (10.94%)  (4.79%)  (8.65%)
                                                          168,503  298,855                        467,358
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (72.36%)  (86.24%)                       (17.38%)

                                 ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
                                 เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควรพิจารณา
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 46,624 ไร

                       และยางพารา (S3) 25,518 ไร (ตารางที่ 6)
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27