Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11







                                 พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
                       ขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
                       และแหลงน้ํา กระจายอยูในอําเภอเทิง อําเภอพาน และอําเภอปาแดด

                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทําการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา โดย

                       พิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.2    ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเชียงรายลําดับที่ 2 จากฐานขอมูลใน

                       แผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 - 9)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                                    ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 232,872 ไร คิดเปนรอยละ 8.66 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเชียงของ 54,067 ไร อําเภอเทิง 29,377 ไร

                       และอําเภอเชียงแสน 29,141 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 346,551 ไร คิดเปนรอยละ
                       12.89 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 63,281 ไร อําเภอเวียง

                       เชียงรุง 33,484 ไร และอําเภอเวียงปาเปา 32,171 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 318,388 ไร คิดเปนรอยละ 11.84
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพาน 59,024 ไร อําเภอเทิง 35,873 ไร และ
                       อําเภอเมือง 34,546 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,791,325 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม
                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 64,369 ไร คิดเปนรอยละ 27.64 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเชียงแสน 14,921 ไร อําเภอเชียงของ 13,866 ไร และอําเภอดอยหลวง
                       7,459 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 47,696 ไร คิดเปนรอยละ 13.76 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 8,952 ไร อําเภอเวียงปาเปา 7,418 ไร

                       และอําเภอแมลาว 5,943 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 34,833 ไร คิดเปนรอยละ 10.94 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเวียงปาเปา 4,888 ไร อําเภอเทิง 4,534 ไร และอําเภอ
                       พาน 3,574 ไร

                                   (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 85,785 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตยังไมใช
                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23