Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดเชียงราย
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               17







                         2.3    ยางพารา
                                ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดเชียงรายลําดับที่ 3 จากฐานขอมูลในแผนที่
                       เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 451,785 ไร คิดเปนรอยละ 14.78
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเชียงของ 68,242 ไร อําเภอเมืองเชียงราย
                       63,470 ไร และอําเภอเวียงเชียงรุง 41,767 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 251,074 ไร คิดเปนรอยละ

                       8.22 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 39,439 ไร อําเภอเวียง
                       ปาเปา 38,770 ไร และอําเภอพาน 30,378 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 386,976 ไร คิดเปนรอยละ
                       12.66 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพาน 63,282 ไร อําเภอเมืองเชียงราย

                       54,097 ไร และอําเภอเชียงแสน 43,784 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,966,270 ไร
                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 47,093 ไร คิดเปนรอยละ 10.42 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเวียงเชียงรุง 6,482 ไร อําเภอดอยหลวง 6,073 ไร และอําเภอเมืองเชียงราย
                       5,614 ไร
                                   (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 45,841 ไร คิดเปนรอยละ 18.26 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเวียงปาเปา 4,720 ไร อําเภอเวียงเชียงรุง 1,695 ไร
                       และอําเภอเวียงชัย 1,257 ไร
                                   (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 72,751 ไร คิดเปนรอยละ 18.80 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองเชียงราย 13,043 ไร อําเภอเชียงแสน 9,624 ไร และ
                       อําเภอดอยหลวง 7,924 ไร
                                   (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 19,238 ไร
                                3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตยังไมใชพื้นที่

                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ
                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 609,925 ไร กระจายอยูทั่วทุกอําเภอ โดยอําเภอ
                       ที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองเชียงราย 89,891 ไร รองลงมา อําเภอเชียงของ

                       67,323 ไร อําเภอเทิง 45,494 ไร และอําเภอเชียงแสน 42,424 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                   (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 404,692 ไร คิดเปนรอยละ 89.58 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอเชียงของ 62,756 ไร อําเภอเมืองเชียงราย 57,856 ไร อําเภอเทิง
                       38,470 ไร
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29