Page 8 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 8

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน










                       1. ขอมูลทั่วไป


                           จังหวัดกําแพงเพชร มีพื้นที่ประมาณ 8,607.49 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,379,681 ไร ตั้งอยูใน
                       ภาคเหนือของประเทศไทย ประกอบดวย 11 อําเภอ 78 ตําบล (ตารางผนวกที่ 1) มีจํานวนประชากร
                       714,118 คน (กรมการปกครอง, 2563)

                         1.1  อาณาเขตติดตอ
                             ทิศเหนือ      ติดตอ   จังหวัดตาก และจังหวัดสุโขทัย

                             ทิศใต       ติดตอ   จังหวัดนครสวรรค
                             ทิศตะวันออก   ติดตอ   จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดพิจิตร
                             ทิศตะวันตก    ติดตอ   จังหวัดตาก

                         1.2  ภูมิประเทศ

                             สภาพภูมิประเทศของจังหวัดกําแพงเพชร มีแมน้ําปงไหลผานตัวจังหวัด มีลักษณะภูมิประเทศ
                       ดังนี้
                             1) เปนที่ราบลุมแมน้ําปงตอนลางแบบตะพักลุมน้ํา (Alluvial terrace) มีระดับความสูง
                       ประมาณ 43-107 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง บริเวณทิศตะวันออกและใตของจังหวัด
                              2) เปนเนินเขาเตี้ยๆ สลับที่ราบ บริเวณดานเหนือ และตอนกลางของจังหวัด

                             3) เปนภูเขาสลับซับซอน เปนแหลงแรธาตุ และตนน้ําลําธารตาง ๆ ที่สําคัญ เชน คลองวังเจา
                       คลองสวนหมาก คลองขลุง และคลองวังไทร ไหลลงสูแมน้ําปง

                         1.3  ภูมิอากาศ
                             สภาพภูมิอากาศของจังหวัดกําแพงเพชรโดยทั่วไปอบอุนตลอดป มี 3 ฤดู ไดแก ฤดูรอน ฤดูฝน
                       และฤดูหนาว มีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดป 27.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย 33.4 องศาเซลเซียส

                       อุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย 22.5 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ําฝนเฉลี่ย 1,301.5 มิลลิเมตรตอป และฝนตกเฉลี่ย
                       123 วัน

                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดกําแพงเพชร แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุ

                       ตนกําเนิดดิน ไดดังนี้
                             1) ที่ราบน้ําทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ําหรือลําธาร หนาฝนหรือหนาน้ํา มักมี
                       น้ําทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ําพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น

                       หลังน้ําทวม แบงเปน
                               (1) สันดินริมน้ํา (Levee) เปนที่ดอน มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด

                       เล็กนอย เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ําพาบริเวณริมฝงแมน้ํา เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ํา
                       ดินลึก เนื้อดินรวนหยาบ สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง การระบายน้ําดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดิน

                       เชียงใหม (Cm)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13