Page 12 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดกำแพงเพชร
P. 12

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                5








                       ตารางที่ 2  พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจที่มีพื้นที่ปลูกมาก 4 ลําดับแรกของจังหวัดกําแพงเพชร

                                พืชเศรษฐกิจ                  เนื้อที่ (ไร)     รอยละของพื้นที่เกษตรกรรม
                             1. ขาว                        1,312,300                     35.86
                             2. ออยโรงงาน                    900,747                     24.61

                             3. มันสําปะหลัง                  800,971                     21.89
                             4. ยางพารา                        51,331                      1.40
                       ที่มา: https://agri-map-online.moac.go.th, 2564

                         2.1  ขาว

                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดกําแพงเพชร เนื่องจากสภาพพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบ
                       ลุมมีความเหมาะสมในการปลูกขาว จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 - 7)
                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว

                                   ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,442,376 ไร คิดเปนรอยละ
                       38.12 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 241,262 ไร อําเภอ
                       คลองขลุง 233,644 ไร และอําเภอไทรงาม 203,540 ไร
                                   ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 353,165 ไร คิดเปนรอยละ

                       9.33 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองกําแพงเพชร 95,431 ไร อําเภอ
                       ขาณุวรลักษบุรี 92,545 ไร และอําเภอคลองลาน 33,124 ไร
                                   ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 42,119ไร คิดเปนรอยละ
                       1.11 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอคลองลาน  11,995 ไร อําเภอคลองขลุง

                       7,834 ไร และอําเภอพรานกระตาย 7,637 ไร
                                   ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 1,946,235 ไร
                                2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน

                       ไดดังนี้
                                    (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 1,077,142 ไร คิดเปนรอยละ 74.68 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง กระจายตัวมากอยูในอําเภอคลองขลุง 172,013 ไร อําเภอไทรงาม 167,269 ไร และ
                       อําเภอขาณุวรลักษบุรี 166,849 ไร
                                    (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 170,327 ไร คิดเปนรอยละ 48.23 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอขาณุวรลักษบุรี 41,659 ไร อําเภอเมืองกําแพงเพชร
                       32,188 ไร และอําเภอพรานกระตาย 23,814 ไร
                                    (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 42,119 ไร คิดเปนรอยละ 100 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอคลองลาน 11,995 ไร อําเภอคลองขลุง 7,834 ไร และ
                       อําเภอพรานกระตาย 7,637 ไร
                                    (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 22,712 ไร
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17